การเขียนแบบบรรจุภัณฑ์

Packaging Drafting

มีความรู้และทักษะด้านการเขียนแบบบรรจุภัณฑ์บนพื้นฐานของ ศิลปะ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อตอบสนองความต้องการของตลาด
1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเขียนแบบบรรจุภัณฑ์
2. เพื่อให้สามารถเขียนแบบบรรจุภัณฑ์
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเขียนแบบบรรจุภัณฑ์วัสดุต่างๆ ตามมาตรฐานอุตสาหกรรม การเขียนแบบภาพคลี่ การคำนวณหาพื้นที่ 2 มิติ การขึ้นรูป 3 มิติ โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป
-ไม่มี-
1. มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณในวิชาชีพ 2. มีวินัย มีความรับผิดชอบทั้งส่วนตนและส่วนรวม 3. มีความเสียสละ มีความรัก เมตตาและปรารถนาดีต่อผู้อื่น 4. มีจิตสาธารณะ มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี มีภาวะผู้นำและสามารถทำงานเป็นทีมได้ 5. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับของสังคมและองค์กร 6. เคารพสิทธิ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมถึงเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของผู้อื่น
1. การอธิบาย 2. แทรกตัวอย่างในเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง
1. การประเมินพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตามเวลา 2. การประเมินผลจากการนำเสนองานที่มอบหมายและการอ้างอิงข้อมูลอย่างถูกต้อง
1. มีความรู้และความเข้าใจหลักการและทฤษฎีที่สำคัญของเนื้อหาที่ศึกษา 2. มีความคิดสร้างสรรค์ในการสร้างงานสร้างสรรค์และออกแบบ 3. สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อปฏิบัติเขียนแบบได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4. สามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมงานสร้างสรรค์และออกแบบ 5. สามารถบูรณาการความรู้กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และความรู้ในศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง 6. สามารถติดตามพัฒนาการทางนวัตกรรมงานสร้างสรรค์และออกแบบอย่างต่อเนื่อง
1. การสอนโดยใช้การออกแบบการเรียนรู้ที่เน้น RBIS (Research-based Instructional Strategies) คือ 1) การกำหนดปัญหา 2) การตั้งสมมุติฐาน 3) การรวบรวมข้อมูล 4) การวิเคราะห์ข้อมูล 5) กระบวนการสร้างสรรค์ผลงาน 6) การนำผลงานไปใช้ ประโยชน์กับท้องถิ่น 7) การสรุปผล โดยมีเนื้อหาที่นักศึกษาต้องศึกษาและนำมาใช้ในกระบวนการวิจัย/งานสร้างสรรค์คือ การเขียนแบบเพื่องานพิมพ์และบรรจุภัณฑ์ 2. การสอนโดยใช้กระบวนการวิจัยเป็นฐาน เป็นการบูรณาการงานวิจัยกับการเรียนการสอนจากผลงานวิจัยของผู้สอน
1. การประเมินผลจากการนำเสนอผลงานตามกระบวนการวิจัย/งานเขียนแบบ
1. คิดอย่างมีวิจารณญาณและวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ 2. สามารถสืบค้น ตีความและประเมินข้อมูลเพื่อนำมาแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถรวบรวม วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหา 4. สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหางานเขียนแบบบรรจุภัณฑ์ 
1. การสอนโดยใช้การออกแบบการเรียนรู้ที่เน้น RBIS (Research-based Instructional Strategies) โดยมีเนื้อหาที่นักศึกษาต้องศึกษาและนำมาใช้ในกระบวนการวิจัย/งาน สร้างสรรค์คือการฝึกปฏิบัติงานเขียนแบบเพื่อการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
1. การประเมินผลจากการนำเสนอผลงานตามกระบวนการวิจัย/งานสร้างสรรค์
1. สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนได้อย่างสร้างสรรค์ 2. สามารถทำงานเป็นทีม มีการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทผู้นำและผู้ร่วมทีมงาน 3. มีความเคารพและยอมรับในความแตกต่างระหว่างบุคคลและวัฒนธรรม 4. มีความรับผิดชอบในการพัฒนาตนเอง วิชาชีพและสังคม
1. การสอนโดยใช้การออกแบบการเรียนรู้ที่เน้น RBIS (Research-based Instructional Strategies) โดยมีเนื้อหาที่นักศึกษาต้องศึกษาและนำมาใช้ในกระบวนการวิจัย/งาน สร้างสรรค์คือ การสร้างสรรค์ผลงานที่มีการสื่อสารอย่างสร้างสรรค์และนำเสนอผลงานที่เหมาะสม มีประโยชน์กับท้องถิ่น การปฏิบัติงานเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม
1. การประเมินผลจากการนำเสนอผลงานตามกระบวนการวิจัย/งานสร้างสรรค์
1. มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นต่องานสร้างสรรค์และออกแบบ 2. สามารถวิเคราะห์ปัญหาที่นำข้อมูลทางสถิติมาใช้ประโยชน์อย่างสร้างสรรค์ 3. สามารถสื่อสารที่มีประสิทธิภาพทั้งการพูด การฟัง การเขียน และการนำเสนอผลงาน 4. สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
1. การสอนโดยใช้การออกแบบการเรียนรู้ที่เน้น RBIS (Research-based Instructional Strategies) โดยมีเนื้อหาที่นักศึกษาต้องศึกษาและนำมาใช้ในกระบวนการวิจัย/งานสร้างสรรค์คือ งานเขียนแบบบรรจุภัณฑ์ ใช้ในการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล กระบวนการเขียนบรรจุภัณฑ์ นักศึกษา มีการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์และ/หรือสื่อการสอน E-Learning การนำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
1. การประเมินผลจากการนำเสนอผลงานตามกระบวนการวิจัย/งานสร้างสรรค์
1. สามารถปฏิบัติงานด้วยทักษะการเขียนแบบบรรจุภัณฑ์
2. สามารถปฏิบัติงานด้วยนวัตกรรมและเทคโนโลยี
3. สามารถประยุกต์ความรู้ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานเขียนแบบบรรจุภัณฑ์
1. การสอนโดยใช้การออกแบบการเรียนรู้ที่เน้น RBIS (Research-based Instructional Strategies) โดยมีเนื้อหาที่นักศึกษาต้องศึกษาและนำมาใช้ในกระบวนการวิจัย/งาน สร้างสรรค์คือ การเขียนแบบบรรจุภัณฑ์ การประยุกต์ความรู้ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน สร้างสรรค์ตามความสนใจ หรือตามแนวทางเฉพาะตัวของนักศึกษา
1. การประเมินผลจากการนำเสนอผลงานตามกระบวนการวิจัย/งานสร้างสรรค์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักาะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1
1 BAAPD103 การเขียนแบบบรรจุภัณฑ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม การประเมินพฤติกรรมภายในห้องเรียน 1-8, 10-16 10%
2 ความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 17 20%
3 ทักษะทางปัญญา การศึกษาค้นคว้า ศึกษา องค์ความรู้จากในชั้นเรียนออนไลน์ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
5 ทักษะการวิเคราะห์ ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ การศึกษาค้นคว้า ศึกษา องค์ความรู้จากในชั้นเรียนออนไลน์ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
6 ทักษะพิสัย การเข้าร่วมชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
การเขียนงานวิจัยทางการออกแบบบรรจุภัณฑ์ เทคนิคการเขียนแบบบรรจุภัณฑ์ เขียนแบบเทคนิคเบื้องต้น 
การเขียนแบบบรรจุภัณฑ์จะต่างกับการเขียนภาพโดยทั่วไปคือ การกำหนดรูปลักษณะ โครงสร้างวัสดุที่ใช้ตลอดจนกรรมวิธีการผลิต การบรรจุ ตลออดจนการขนส่งเก็บรักษาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์นับตั้งแต่จุดผลิตจนถึงมือผู้บริโภค
Descriptive Geometry Technical Drawing Technical Sketching Mechanical Drawing Engineering Design Graphic
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบสอบถามเพื่อประเมินผู้สอน และประเมินรายวิชา
2.1 ระดับผลการเรียนของนักศึกษา 2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 
3.1 การสัมมนาการจัดการเรียนการสอนเพื่อหาแนวทางพัฒนาปรับปรุงการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยชั้นเรียน
มีคณะกรรมการสาขาวิชาตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบชิ้นงาน วิธีการให้คะแนนและการให้คะแนนพฤติกรรม 
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนปรับปรุงการสอนและ รายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น คือ ปรับปรุงรายวิชาอย่างน้อยทุก 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะ และผลการทวนสอบผลสัมฤทธิ์