องค์ประกอบศิลป์สำหรับงานออกแบบ

Composition for Design

เพื่อศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความหมาย ที่มา และความสําคัญของ องค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุทางศิลปะ หลักการจัดองค์ประกอบด้วยวัสดุและ เทคนิควิธีการต่าง ๆ โดยเน้นความคิดสร้างสรรค์
เพื่อให้สอดคล้องกับการปรับปรุงหลักสูตร พุทธศักราช 2565 และเพื่อให้ทันสมัย สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ด้านตลาดแรงงาน ความต้องการ ของสังคม เทคโนโลยี และทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยมุ่งพัฒนา่ให้นักศึกษาเป็นผู้มีทักษะการวาดภาพเพื่อการออกแบบ มีความสามารถในการคิดอย่างสร้างสรรค์  
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับความหมาย ที่มาและความสําคัญของ องค์ประกอบศิลป์ ทัศนธาตุทางศิลปะ หลักการจัดองค์ประกอบด้วยวัสดุและ เทคนิควิธีการต่าง ๆ โดยเน้นความคิดสร้างสรรค์
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1. ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟ้งแนวคิดของผู้อื่น
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1. รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2. มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่าง เป็นระบบ
2.2.1 ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของสาขาวิชา  นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดู งาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึก ประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
 
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน
3.1.1  สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมี วิจารณญาณ
3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 
3.1.3  สามารถบูรณาการความรูhกับศาสตร์อื่น เพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และ วิชาชีพได้
3.2.1 บรรยาย และใช้กรณีศึกษา การจัดทําโครงงาน  การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปข้อมูล
3.2.2 การนําเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
3.3.1 สอบกลางภาคและสอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์จากการปฏิบัติงานตลอดภาคการศึกษา
3.3.2. วัดผลจากการประเมินตามสภาพจริงของผลงาน
3.3.3 การนำเสนองานโดยการอภิปรายเดี่ยว หรือกลุ่ม
4.1.1  มีภาวะผู้นํา เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี
4.2.1 สอดแทรกเรื่องความสําคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทําหน้าที่ผู้นํา และผู้ตาม ในงานกลุ่ม ปลูกฝังการเคารพสิทธิ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
 
 
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนําเสนองาน พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมายในกลุ่มชั้นเรียน
 
5.1.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการ สื่อสารทางศิลปกรรม และนําเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูล เพื่อการสร้างสรรค์ผลงาน หรือการนําเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยี สารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างาน
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากการเลือกใช้เครื่องมือ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1  สามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ ในการสร้างสรรค์ผลงานตน
6.2.1 ศึกษาข้อมูลเพื่อสร้างแนวคิดในการออกแบบ
6.2.2 การอภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
6.2.3 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติสร้างผลงานสองมิติและสามมิติรวมทั้งนำเสนอผลงาน
6.3.1 ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากผลงานปฏิบัติของนักศึกษาที่มอบหมาย
6.3.2 แนวคิดในการออกแบบผลงาน
6.3.3 กระบวนการทำงานตามขั้นตอนของการสร้างสรรค์ผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 2.1.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่าง สร้างสรรค์ 4.1.1 มีภาวะผู้นำ เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 5.1.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5.1.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการ สร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1.1 มีสามารถใช้ทักษะปฏิบัติทางศิลปกรรมศาสตร์ในการสร้างสรรค์ผลงานของตน
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม 1.2.2 บรรยาย วิธีการเรียนทฤษีและปฏิบัติ การประเมินผลงานและการเข้าชั้นเรียน ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ ในการปฎิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของสาขาวิชา นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึก ประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา แต่ละหน่วยเรียน นำเสนองานโดยการอภิปรายเดี่ยว หรือกลุ่ม สอดแทรกเรื่องความสําคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทําหน้าที่ผู้นํา และผู้ตาม ในงานกลุ่ม ปลูกฝังการเคารพสิทธิ ยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยี สารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างาน นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ศึกษาข้อมูลเพื่อสร้างแนวคิดในการออกแบบ การอภิปรายกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น ปฏิบัติงานโดยการสร้างผลงานสองมิติและสามมิติรวมทั้งนำเสนอผลงาน
1 BAACC406 องค์ประกอบศิลป์สำหรับงานออกแบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 3.3.1 สอบกลางภาคและสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์จากการปฏิบัติงานตลอดภาคการศึกษา สอบกลางภาค สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 และ สัปดาห์ที่ 18 สอบกลางภาค 15 % สอบปลายภาค 15 %
2 2.3.2 ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน 3.3.2 วัดผลจากการประเมินตามสภาพจริงของผลงาน 3.3.3 การนำเสนองานโดยการอภิปรายเดี่ยว หรือกลุ่ม 4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย ในกลุ่มชั้นเรียน 5.3.1 ประเมินจากการเลือกใช้เครื่องมือ ทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม 5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย 6.3.2 แนวคิดในการออกแบบผลงาน 6.3.3 กระบวนการทำงานตามขั้นตอนของการสร้างสรรค์ผลงาน การนำเสนองาน ผลงานที่มอบหมาย ทุกสัปดาห์ ตลอดภาคการศึกษา 60 %
3 1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ทุกสัปดาห์ ตลอดภาคการศึกษา 10 %
ฉัตรชัย อรรถปักษ์. 2548. องค์ประกอบศิลปะ. กรุงเทพฯ :  วิทยพัฒน์.
    ชลูด นิ่มเสมอ. 2541.  องค์ประกอบของศิลปะ.  กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์อัมรินทร์
    นพวรรณ หมั้นทรัพย์. 2539.  การออกแบบเบื้องต้น.  เชียงใหม่ :  โครงการตำรา สถาบันเทคโนโลยี
              ราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ.
    สมชาย พรหมสุวรรณ. 2548. หลักการทัศนศิลป์.  กรุงเทพฯ :  สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
   อัครเดช อยู่ผาสุข.  วิชาศิลปศึกษา  หลักสูตรการศึกษาทางไกล.
   ธนภัทร รุ่งธนาภิรมย์.2560. ทฤษฎีความงาม. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ EARN concept
   Lazzari,M.R. and Clayton,L.1990.  Art and Design Fundamentals.  New York : Van   
             Nostrand Reinhold.
แผนการจัดการเรียนรู้
เอกสารประกอบการสอน
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น  
e-learning  มทร.ล้านนา  วิชา Art Composition   เข้าถึงได้จาก http://elearning.rmutl.ac.th/main/course/
     ความรู้ทั่วไปและนิยามของศิลปะ.  เข้าถึงได้จาก  http://krumek.igetweb.com.
                 สี  เข้าถึงได้จาก  http://gotoknow.org/blog/pavanadesign/102313
                 สี  เข้าถึงได้จาก  http://www.prc.ac.th/newart/webart/composition.html
                การออกแบบสามมิติ  เข้าถึงได้จาก 
                  http://gotoknow.org/file/pavana/14Three%20%20Dimention%20Design.pdf
                 John  Lovett.  Element and Principle of design. เข้าถึงได้จาก            
                          http://www.johnlovett.com/test.htm
                Joshua David McClurg-Genevese. .  Principle and Element of Design.  เข้าถึงได้จาก  http://www.digital-web.com/articles/principles_and_elements_of_design/
                Marvin Bartel. Some ideas about composition and design :  Elements, Principles and visual effect.  เข้าถึงได้จาก   http://www.goshen.edu/art/ed/Compose.htm
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์