เคมีเชิงฟิสิกส์

Physical Chemistry

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. มีความเข้าใจกฎและทฤษฎีของแก๊ส 2. เข้าใจกฎต่างๆทางอุณหพลศาสตร์ 3. เข้าใจทฤษฏีต่างๆทางจลนศาสตร์เคมี 4. เข้าใจสมดุลระหว่างเฟส 5. เข้าใจสารละลายอิเล็กโทรไลต์ 6. เข้าใจพื้นฐานทางสเปกโทรสโกปี
1. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีทางเคมีเชิงฟิสิกส์เพิ่มขึ้น 2. นักศึกษานำความรู้และทักษะไปประยุกต์ใช้กับรายวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง 3. เพื่อให้เนื้อหาสมบูรณ์สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงในโลกปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับ กฏและทฤษฏีของแก๊ส อุณหพลศาสตร์ จลนศาสตร์เคมี สมดุลระหว่างเฟส สารละลายอิเล็กโทรไลต์ พื้นฐานทางสเปกโทรสโกปี
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่ม เฉพาะรายที่ต้องการ หรือผ่านทางระบบการสื่อสารออนไลน์
1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 4) เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
- สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมระหว่างการสอน - กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เพื่อให้นักศึกษามีระเบียบวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎ ระเบียบและข้อบังคับ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม - มอบหมายงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
- ประเมินจากพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา -ประเมินความมีวินัยและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย -ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2) สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3) สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1) บรรยายและการใช้สื่อการสอนชนิดต่างๆ อย่างเหมาะสม 2) การซักถามในบทเรียนรวมทั้งร่วมกันอภิปราย เพื่อแสดงคิดเห็นและความสัมพันธ์เหล่านั้นตามความเข้าใจ 3) มอบหมายงานทำปฏิบัติการทดลองเป็นกลุ่มให้ไปค้นคว้าเพิ่มเติมในแต่ละรายหน่วยปฏิบัติการ 4) การฝึกทักษะทำปฏิบัติการทดลองในแต่ละรายหน่วยปฏิบัติการ 5) ค้นคว้าเพิ่มเติมและจัดทำเป็นรายงาน
- ประเมินผลจากการสอบด้วยข้อสอบที่เน้นหลักการและทฤษฎี - ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย - ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูลกรณีศึกษา
1) มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 2) มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1) บรรยายและอภิปรายกรณีศึกษาร่วมกันในชั้นเรียน 2) การมอบหมายให้นักศึกษาทำโครงงานเป็นกลุ่ม และนำเสนอผลการศึกษา
1) สอบรายหน่วย กลางภาคและปลายภาค 2) สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในชั้นเรียน 3) รายงานบันทึกผลการทดลองในแต่ละรายหน่วยปฏิบัติการ 4) จากการนำเสนอผลงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมาย
1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 2) มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3) สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา - มอบหมายงานกลุ่ม และรายบุคคล - การนำเสนอรายงานและอภิปรายกลุ่ม
- ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม - ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1) สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 2) สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 3) สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-มีการอธิบายเชิงทฤษฎีแล้วแสดงวิธีคำนวณที่สอดคล้องกับทฤษฎีเหล่านั้น  -มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้นกรณีศึกษาเกี่ยวกับเคมีวิเคราะห์กับวิชาชีพ 
 
- ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอ โดยใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ - ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ 1.2 แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต 1.3 มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเอง และสังคม 1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.5 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 มีความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ สามารถบูรณาการความรู้ในที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.3สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและต่อยอดองค์ความรู้ และมีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 2.4 รู้กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางเทคนิค รวมถึงการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป 3.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศ แนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อสรุปที่ได้ในการแก้ไขปัญหา หรืองานอื่นๆ โดยไม่ต้องอาศัยคำแนะนำ 3.2 สามารถคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ในการวิเคราะห์ปัญหาที่ซับซ้อน และเสนอแนวทางแก้ไขอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถใช้ทักษะและความเข้าใจในบริบททางวิชาชีพและวิชาการ เช่น การตรวจวิเคราะห์อาหาร การควบคุมและประกันคุณภาพ การวิจัย และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.4 มีทักษะในภาคปฏิบัติที่ได้รับการฝึกฝน ตามเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา 4.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายทั้งของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม 4.2 สามารถปรับตัวทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ทั้งฐานะผู้นำกลุ่มและสมาชิกกลุ่มอย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ 4.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 5.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการวิเคราะห์แปลความหมายและเสนอแนวทางในการแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 5.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสาร ทั้งการพูดและการเขียน รู้จักการเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่ต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสาระสำคัญของวิชานั้นๆ จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ 5.4 มีวิจารณญานในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมาย และสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด 5.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดเก็บข้อมูลต่างๆ ได้อย่างเหมาะสม 5.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้องทั้งภาษาพูดและภาษาเขียน และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้อย่างเหมาะสม
1 BSCCC109 เคมีเชิงฟิสิกส์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 - สอบรายหน่วย -สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 4,.9, 14, 17 50
2 2.1, 3.1, 3.2, 4.3, 5.2 - ทดสอบย่อย - การทำงานกลุ่มและการนำเสนอผลงานที่มีการสืบค้นอย่างถูกต้อง - การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40
3 1.3, 2.1, 3.2 - การเข้าชั้นเรียน - การส่งงานตามที่มอบหมายตรงเวลา - การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
1. วิชัย ธรานนท์, เคมีฟิสิกัล 1, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2537
2. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร์ ภาควิชาเคมี, เคมีทั่วไป เล่ม 1, พิมพ์ครั้งที่ 5, กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535
3. แม้น อมรสิทธิ์ และอมร เพชรสม, หลักการและเทคนิคการวิเคราะห์เชิงเครื่องมือ, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2535
4. ปรีชา พหลเทพ, เคมีฟิสิกัล 2, พิมพ์ครั้งที่ 5, กรุงเทพฯ: รามคาแหงมหาวิทยาลัย, 2533
5. สุนันท์ โรจนกิจ, ตาราปฏิบัติการเคมีฟิสิกัล 2, กรุงเทพฯ: รามคาแหงมหาวิทยาลัย, 2531
6. ทบวงมหาวิทยาลัย, เคมี 1, กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์, 2541
7. ธีรพล วงศ์ชนะพิบูลย์, คู่มือปฏิบัติการเคมีฟิสิกัล, พิมพ์ครั้งที่ 5, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะวิทยาศาสตร์, 2545
8. ศุภชัย ใช้เทียมวงศ์, เคมีวิเคราะห์, พิมพ์ครั้งที่ 5, สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543
9. ณรงค์ ไชยสุต, วิธีการวิเคราะห์โดยอุปกรณ์, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2535
10. ธวัชชัย ศรีวิบูลย์, เคมีวิเคราะห์, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2539
11. ชูติมา เลิศชวนะกุล, เคมีวิเคราะห์ 2, มหาวิทยาลัยรามคาแหง, 2526
12. วิโรจน์ ปิยวัชรพันธุ์, เคมีเชิงฟิสิกส์ 1, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบันราชภัฏยะลา, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2540
13. สมเกียรติ ธาดานิติ และ ศุภชัย ศุภลักษณ์นารี, เคมีทั่วไป, ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2528
14. Kenneth W. Whitten, Raymond E. Davis, and M. Larry Peck, General Chemistry, 7th edition, 2004
15. Wolfgang Schartl, Basic Physical Chemistry, Dr Wolfgang Schartl & bookboon.com, Firth Edition, 2014
16. Peter Atkins and Julio de Paula, Atkins’ Physical Chemistry, W.H. Freeman and Company, New York, Eighth Edition, 2006
17. Peter Atkins and Julio de Paula, Physical Chemistry For The Life Sciences, W.H. Freeman and Company, New York, Second Edition, 2011
18. Walter J. Moore, Physical Chemistry, Indiana University, Lowe & Brydone (Printers) Ltd., London, Fourth Edition, 1963
19. Jan Koolman, Klaus Heinrich Roehm, Color Atlas of Biochemistry, Thieme, New York, Second Edition, 2005
20. David W. Oxtoby, H. P. Gillis, Alan Campion, Hatem H. Helal, Kelly P. Gaither, Principles of Modern Chemistry, Thomson Learning, Inc., sixth edition, 2008
21. สืบค้นจากhttp://www.digitalschool.club/digitalschool/science1_2_2/science13/lesson2.php (6 สิงหาคม 2561)
22. สืบค้นจาก http://www.thaigoodview.com/node/87427?page=0,2 (6 สิงหาคม 2561)
23. สืบค้นจาก https://sites.google.com/site/karthaerksxd/ (6 สิงหาคม 2561)
24. สืบค้นจาก http://wavesrp512.blogspot.com/2014/07/blog-post_813.html (6 สิงหาคม 2561)
25. สืบค้นจาก https://slideplayer.in.th/slide/2066732/ (6 สิงหาคม 2561)
26. สืบค้นจาก http://namrataheda.blogspot.com/2016/05/ (6 สิงหาคม 2561)
27. สืบค้นจาก http://www.atomic-physics.lv/edl_aas.htm (6 สิงหาคม 2561)
28. สืบค้นจาก http://blogs.maryville.edu/aas/atomization-source/ (6 สิงหาคม 2561)
29. สืบค้นจาก http://chemicalinstrumentation.weebly.com/flame-aas.html (6 สิงหาคม 2561)
30. สืบค้นจาก http://www.pginstruments.com/product/aa500f/ (6 สิงหาคม 2561)
31. สืบค้นจาก http://tinyforge.co/block-diagram-uv-vis-spectrophotometer.html (6 สิงหาคม 2561)
32. สืบค้นจาก https://www.lookchem.com/Chempedia/Chemical-Instruments/ Application-Note/8969.html (6 สิงหาคม 2561)
33. สืบค้นจาก http://tamagozzilla.blogspot.com/2009/08/mo-memoir-interferometer.html (6 สิงหาคม 2561)
34. สืบค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/226209 (6 สิงหาคม 2561)
35. สืบค้นจาก http://www.eng.uc.edu/~beaucag/Classes/Analysis/Chapter5.html (6 สิงหาคม 2561) 36. สืบค้นจาก https://chembam.com/techniques/nmr/ (6 สิงหาคม 2561)
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ จัดทำโดยนักศึกษา ได้ดังนี้ 1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 มีการปรับปรุงการสอนปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา เช่น การสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา หรือผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวม
ปรับปรุงรายวิชาทุก 2 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4