วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ

Science for Health

ศึกษาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สุขภาพและการพัฒนาวิทยาศาสตร์ด้านสุขภาพ อาหารเพื่อสุขภาพและสารปนเปื้อนในอาหาร การใช้สารเคมีในชีวิตประจําวัน และผลกระทบของสารเคมีต่อสุขภาพ การใช้เครื่องสําอางและเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการดูแลสุขภาพ การ ใช้ยารักษาโรคเบื้องต้น โรคสําคัญและโรคอุบัติใหม่ที่มีผลกระทบทางสังคมและการ ป้องกัน แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม
เพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน เช่น โรคอุบัติใหม่ COVID-19  และปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย เพิ่มเนื้อหาการใช้เครื่องสําอางให้ปลอดภัยและเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการดูแลสุขภาพ เช่น Q-switch IPL รวมถึงการบำรุงรักษาสุขภาพด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่ เช่น การใช้เทคโนโลยีนาโน สเต็มเซลล์ ตลอดจนแนวทางป้องกันโรค เป็นต้น
ศึกษาเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์สุขภาพและการพัฒนาวิทยาศาสตร์ด้านสุขภาพ อาหารเพื่อสุขภาพและสารปนเปื้อนในอาหาร การใช้สารเคมีในชีวิตประจําวัน และผลกระทบของสารเคมีต่อสุขภาพ การใช้เครื่องสําอางและเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการดูแลสุขภาพ การใช้ยารักษาโรคเบื้องต้น โรคสําคัญและโรคอุบัติใหม่ที่มีผลกระทบทางสังคมและการป้องกัน แนวคิดการสร้างเสริมสุขภาพแบบองค์รวม
3 คาบ และผ่านทาง application Line ในเวลาราชการ
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา  
2. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด  
3. กำหนดข้อตกลงร่วมกันในการวัดผลระหว่างผู้เรียนและผู้สอน
1. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย  
2. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
1. บรรยายครอบคลุมเนื้อหาตามคำอธิบายรายวิชา 
2. มอบหมายให้ค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม หรือศึกษาด้วยตนเอง  
3.กำหนดหัวข้อทางวิชาการให้กับนักศึกษาในการค้นคว้าความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ
1. ทดสอบย่อย  
2. สอบกลางภาค สอบปลายภาค  
3. ประเมินจากรายงาน หรืองานที่มอบหมาย
(2) มีทักษะในการนําความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. ยกตัวอย่างที่เหมาะสมในระหว่างการบรรยาย  
2. มอบหมายงานให้นักศึกษา ทำแบบฝึกหัด และนำเสนองานหน้าชั้นเรียน
1. ทดสอบย่อย  
2. การนำเสนองาน
(3) สามารถทํางานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม (4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานรายกลุ่ม หรือแบบฝึกหัดให้ทำเป็นกลุ่ม  
2. ให้นำเสนองาน แบบฝึกหัด โดยกำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคน
1. ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม  
2. ประเมินจากการนำเสนองาน
(2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
1. ใช้  Power point มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล  
2. มอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 3.2 มีทักษะในการนําความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 4.3 สามารถทํางานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.2 สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
1 GEBSC304 วิทยาศาสตร์เพื่อสุขภาพ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 3.2 สอบกลางภาค และปลายภาค 9 และ 17 ร้อยละ 60
2 4.3 และ 4.4 ประเมินจากรายงานหรืองานที่มอบหมาย ประเมินจากใบงาน ประเมินจากความรับผิดชอบงานกลุ่ม ประเมินจากการนำเสนองาน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 30
3 1.3 และ 5.2 การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
1. ชนิดา ปโชติการ, ศัลยา คงสมบูรณ์เวช และอภิสิทธิ์ ฉัตรทนานนท์. 2557. อาหารกับสุขภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 5 สำนักพิมพ์เสริมมิตร: กรุงเทพฯ 
2. ศัลยา คงสมบรูณ์เวช. 2561. บำบัดเบาหวานด้วยอาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 5 อมรินทร์เฮลท์ อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง: กรุงเทพฯ 
3. ดนุพล วิรุฬหการุญ. 2564. เคล็ดลับชะลอวัย ห่างไกลโรค. พิมพ์ครั้งที่ 1 สำนักพิมพ์ฟรีมายด์: กรุงเทพฯ
4. รัชนี คงคาฉุยฉาย และ ริญ เจริญศิริ. 2554. โภชนาการกับผัก.  พิมพ์ครั้งที่ 1 สำนักพิมพ์สารคดี: กรุงเทพฯ
5. คณาจารย์สาขาชีวเคมี คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2552. ความรู้เรื่องยา. พิมพ์ครั้งที่ 2 สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
6. เอกราช บำรุงพืชน์. 2559. โภชนาการชะลอวัย. พิมพ์ครั้งที่ 1 อมรินทร์เฮลท์ อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง: กรุงเทพฯ 
7. เริงฤทธิ์ สัปปพันธ์. 2562. รู้ทันป้องกันเชื้อโรค. พิมพ์ครั้งที่ 1 ซีเอ็ดยูเคชั่น: กรุงเทพฯ
8. ตนุพล วิรุฬหการุญ. 2561. สุขภาพดีอายุ 100 ปี คุณก็มีได้. พิมพ์ครั้งที่ 1 สำนักพิมพ์ฟรีมายด์: กรุงเทพฯ
9. ณัฐวุฒิ รักแคว้น.2562. เจาะลึกตรวจสุขภาพ 4.0. อมรินทร์เฮลท์ อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง: กรุงเทพฯ 
10. ทีมแพทย์ชีวี. 2560. ถามหมอสิ จริงหรือเท็จ. พิมพ์ครั้งที่ 1 ซีเอ็ดยูเคชั่น: กรุงเทพฯ
-
1. วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต - มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี http://portal5.udru.ac.th/ebook/pdf/upload/17qJ8JiSQy872S31N8y8.pdf  สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2565.  
2. คณะทำงานจัดทำข้อปฏิบัติการกินอาหารเพื่อสุขภาพที่ดีของคนไทย. (2542). คู่มือธงโภชนาการ กินพอดีสุขีทั่วไทย [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก HTTP:http://info.thaihealth.or.th/files/-1 41.pdf. สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2565.  
3. สาธารณสุข, กระทรวง กรมควบคุมโรค. (2553). สถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวีและเอดส์ ประเทศไทย บทสรุปประเด็นสถานการณ์การติดเชื้อเอชไอวีและเอดส์ในปัจจุบันของประเทศไทย [ออนไลน์], เข้าถึงได้จาก HTTP: http://epid.moph.go.th/reportaids/2010/T1_ 100430133509.pdf สืบค้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ. 2565
1.1 ผลการประเมินผู้สอนออนไลน์  
1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา  
2.2 ติดตามงานที่มอบหมาย  
2.3 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
3.1 ปรับปรุงการเรียนการสอนจากผลการประเมินของนักศึกษา  
3.2 จัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
4.1 มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้  
4.2 มีการบันทึกหลังการสอน
นำผลที่ได้จากการประเมินของนักศึกษา คะแนนสอบ นำมาสรุปผล และพัฒนารายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป