ระบบสมองกลฝังตัวและอินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง

Embedded Systems and Internet of Everything

1.เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐาน สถาปัตยกรรมและการทำงานระบบสมองกลฝังตัวและการสื่อสารระหว่างระบบ
2.เพื่อศึกษาการประยุกต์งานทางด้าน อาร์เฟไอดี( RFID) เครือข่ายไร้สาย (Wireless)  เซ็นเซอร์(Sensor)และเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สาย (Wireless sensor network)  เครือข่ายอินเตอร์เน็ต 
3.เพื่อศึกษาระบบเครือข่ายแบบก้อนเมฆ(Cloud) เทคโนโลยีการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ต่ออุปกรณ์ ( M2M )  โดยผ่านโปรโตคอลการสื่อสารและการทำงานร่วมกันตามมาตรฐาน  และระบบรักษาความปลอดภัยดิจิตอล
 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านการนำความรู้ ความเข้าใจในการออกแบบและการใช้งานระบบสมองกลฝังตัวและอินเทอร์เน็ตในทุกสรรพสิ่ง เพื่อนำไปประยุกต์ใช้งานด้านต่างๆให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านเทคโนโลยีปัจจุบัน
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับ สถาปัตยกรรมของระบบฝังตัว หลักการทำงานของระบบ ระบบปฏิบัติการของระบบฝังตัว การออกแบบระบบฝังตัวและการโปรแกรม  การทำงานร่วมกันระหว่างระบบฝังตัวและระบบอื่นที่ถูกเชื่อมต่อ การสื่อสารระหว่างระบบ การประหยัดพลังงาน ความปลอดภัย เสถียรภาพ นำสู่ระบบอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง ศึกษาการประยุกต์งานทางด้าน อาร์เฟไอดี( RFID) เครือข่ายไร้สาย (Wireless)  เซ็นเซอร์(Sensor)และเครือข่ายเซ็นเซอร์ไร้สาย (Wireless sensor network)  เครือข่ายอินเตอร์เน็ต  ระบบเครือข่ายแบบก้อนเมฆ(Cloud) เทคโนโลยีการสื่อสารระหว่างอุปกรณ์ต่ออุปกรณ์ ( M2M )  โดยผ่านโปรโตคอลการสื่อสารและการทำงานร่วมกันตามมาตรฐาน  และระบบรักษาความปลอดภัยดิจิตอล
- อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์หรือ อีเมล์      - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (โดยรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
      พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ในการนำความรู้ไปใช้งานอย่างมีคุณภาพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้ 1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.1.2 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์      
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรม ความซื่อสัตย์ การละเมิดลิขสิทธิ์ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่น การใช้ ซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ 1.2.2 อภิปรายกลุ่ม 1.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหยดบทบาทสมมติ
 1.3.1    พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  1.3.2    มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม  1.3.3    ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา  1.3.4     ประเมินลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
            มีความรู้ในหลักการนำเสนอโครงงาน การศึกษาค้นคว้า บทความ งานวิจัย สามารถรำมาวิเคราะห์และจัดทำเป็นแบบเสนอโครงงาน
บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทบาท ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ ศึกษาโดยใช้ปัญหาและโครงงาน Problem-based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดเป็นหลักการและทฤษฎี 2.3.2 ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล กรณีศึกษา หรือโจทย์จาก Problem-based Learning
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ จากหลักทฤษฎี
3.2.1 อภิปรายกลุ่ม 3.2.2 วิเคราะห์กรณีศึกษา ในการนำทฤษฎีเลือกใช้ให้เหมาะสม 3.2.3 การสะท้อนแนวคิดจากประพฤติ
3.3.1 สอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดนเน้นข้อสอบที่มีความเข้าใจ วิเคราะห์และการประยุกต์ใช้ทฤษฎี 3.3.2 วัดผลจากการประเมินโครงการ การนำเสนอผลงาน 3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตัวเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา 4.2.2 มอบหมายงานรายงานกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นบทความ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวกับรายวิชา 4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤตอกรรมการทำงานเป็นทีม 4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
                   5.1.1 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงานและนำเสนอในชั้นเรียน                    5.1.2 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศึกษา                    5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต                    5.1.4 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ                    5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นหว้าด้วยตนเองจากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 การประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.3.2 การประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
6.1.1 ใช้โครงงานขนาดเล็กเป็นฐานในการเรียนรู้
6.2.1 มอบหมายให้ทำโครงงานขนาดเล็กเพื่อเสริมการเรียนรู้
6.3.1 ประเมินผลสำฤทธิ์โครงงานขนาดเล็ก ในปะเด็นต่างๆเช่น การออกแบบ องค์ประกอบของระบบ ความคุ้มค่าในเชิงเศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยีที่ใช้ในการสร้างโครงงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2,1.5,2.1, 2.2,2.4, 3.1-3.4,5.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 8 12 16 5% 20% 5% 20%
2 1.2,1.5, 2.1, 2.2,2.4, 3.1-3.4,4.4-4.6,5.2 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน กรณีศึกษาจากสถานการณ์จริง การทำงานและผลงาน และการปฏิบัติการ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 40%
3 1.2,1.5, 3.1 การเข้าชั้นเรียน มีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 10%
เทคโนโลยีสมองกลฝังตัว Embeded Technology,ธนารักษ์ ธีระมั่นคง,สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น), 2549 การติดตั้งและใช้งาน raspberry pi ,นพ มหิษนนท์,สำนักพิมพ์ Corefunction,2560 Raspberry Pi PROJECTS,นพ มหิษนนท์,สำนักพิมพ์ Corefunction,2560
การประเมินประสิทธิภาพรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ด้วยวิธีการดังนี้             2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน             2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา             2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังการผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้             3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน             3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
  ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอนถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้             4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา             4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
  จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้             5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4             5.2 ประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ