สถิติสำหรับวิทยาศาสตร์

Statistics for Science

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
1.  รู้ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสถิติ
2.  เข้าใจวิธีการหาความน่าจะเป็น
3.  เข้าใจวิธีการหาตัวแปรสุ่ม
4.  เข้าใจการแจกแจงความน่าจะเป็นของตัวแปรสุ่มหนึ่งตัวแปรและสองตัวแปร
5.  เข้าใจการสุ่มตัวอย่าง
6.  เข้าใจหลักการประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐาน
7.  เข้าใจหลักการวิเคราะห์ความแปรปรวน
8.  เข้าใจหลักการทดสอบไคสแควร์
9.  เป็นพื้นฐานในการศึกษาวิจัยต่าง
10.  ประยุกต์ใช้ในวิชาชีพและชีวิตประจำวัน
เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้ทางสถิติเพียงพอที่จะไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ รวมถึงเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ และฝึกให้เป็นคนมีเหตุผลและรอบคอบ  มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
ศึกษาความรู้พื้นฐานทางสถิติ ความน่าจะเป็น ตัวแปรสุ่ม การแจกแจงของตัวแปรสุ่ม การสุ่มตัวอย่าง การแจกแจงของค่าสถิติ การประมาณค่าและการทดสอบสมมติฐานกลุ่มเดียวและสองกลุ่ม การวิเคราะห์ความแปรปรวน การทดสอบไคสแควร์และการวิเคราะห์การถดถอยและสหสัมพันธ์
The study of preliminary statistics, probability, random variable, random variable distribution, Sampling, Sampling distribution, estimation and hypothesis testing of one and two sample mean, analysis of variance, chi- square testing, and regression and correlation analysis.
3.1 วันจันทร์ เวลา 13.00 - 16.30 น. ห้อง 16203 อาคารปฎิบัติความเชี่ยวชาญเกษตรปลอดภัย
 3.2  e-mail: ssophana@gmail.com  เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
   1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
   1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
   1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
   1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. ก่อนเรียนเนื้อหาทุกครั้งฝึกให้นักศึกษามีวินัย ตรงต่อเวลา รู้จักรับผิดชอบ
2. มอบหมายงาน แบบฝึกหัด ใบงาน
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. ความมีวินัยและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 การสอนแบบบรรยาย  ยกตัวอย่างประกอบ มอบหมายงาน
1. การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
2.ทดสอบย่อย
3.ข้อสอบอัตนัยหรือปรนัย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การมอบหมายงานโดยการไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม เป็นกลุ่มแล้วทำรายงานส่ง
2. ยกตัวอย่างในเนื้อหารายวิชาให้แสดงการคิด แก้ปัญหาอย่างมีระบบ
3. การมอบหมายงาน โดยให้ทำแบบฝึกหัดเพื่อทบทวน
1. การสังเกต
2. การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
3.ข้อสอบอัตนัย
4.ทดสอบย่อย
 4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
 4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
 4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล โดยกำหนดขอบเขตงานเป็นการไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติม ให้โจทย์และยกตัวอย่างประกอบการนำความรู้ที่ได้จากบทเรียนไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์จริงได้อย่างเหมาะสม
1. การสังเกต
2. การนำเสนองาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ใช้ Power point  
2. มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
3. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2.ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3.ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BSCCC207 สถิติสำหรับวิทยาศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2 ทดสอบย่อย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 1.3, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2 สอบกลางภาค 9 30%
3 1.3, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2 สอบปลายภาค 17 30%
4 1.3, 2.1, 2.2, 3.1, 3.2, 4.3, 5.1, 5.2 รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย (ใบงาน, การบ้าน) ตลอดภาคการศึกษา 20%
5 1.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอนวิชาสถิติสำหรับวิทยาศาสตร์ มทร.ล้านนา พิษณุโลก
ไม่มี
คณาจารย์ภาควิชาสถิติประยุกต์. สถิติสำหรับวิศวกรและนักวิทยาศาสตร์.กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์  
       สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2546.
กัลยา วานิชย์บัญชา. หลักสถิติ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2539
       คณาจารย์ภาควิชาสถิติ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สถิติเบื้องต้น. เชียงใหม่ : คณะ 
วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2541
ชัชวาล เรืองประพันธ์. สถิติพื้นฐาน. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 2542
 ธีระศักดิ์ อุรัจนานนท์. ความน่าจะเป็นและสถิติประยุกต์ เล่ม 1-2. กรุงเทพฯ: สกายบุ๊กส์. 2546
ศิริลักษณ์ สุวรรณวงศ์. หลักสถิติเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล. 2539
 อนุรักษ์ นวพรไพศาล. สถิติ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ. 2546
- แบบประเมินผู้สอน 
- การสังเกตการณ์ในการสอน
- ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ
- การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
- แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
- การทำวิจัยในชั้นเรียน
 - การทวนสอบจากการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน
 - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา เช่น ตรวจสอบข้อสอบ
- ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการทวนสอบในข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์
- นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา