เทคโนโลยีก่อนพิมพ์

Pre-press Technology

1. รู้และเข้าใจวิวัฒนาการ กระบวนการผลิตงานก่อนพิมพ์ การผลิตน้ำหนักสีสำหรับงานก่อนพิมพ์ การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ การจัดวางหน้าสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยระบบดิจิทัล ตลอดจนการตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์ปรู๊ฟ การทำแม่พิมพ์ในระบบต่างๆ ให้ได้ตามมาตรฐานดิจิทัล
2. มีทักษะในการออกแบบและผลิตสื่อสิ่งพิมพ์ด้วยระบบดิจิทัล
3. มีทักษะในการทำแม่พิมพ์ด้วยระบบการพิมพ์ต่างๆ และสามารถตรวจสอบคุณภาพการพิมพ์ปรู๊ฟด้วยระบบดิจิทัล
4. มีทักษะในการวิเคราะห์ตรวจสอบคุณภาพขั้นตอนต่างๆ ในงานก่อนพิมพ์
5. เห็นความสำคัญและมีจรรยาบรรณในวิชาชีพทางด้านเทคโนโลยีการพิมพ์และบรรจุภัณฑ์
-
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับวิวัฒนาการ กระบวนการทำงานก่อนการผลิตสิ่งพิมพ์ด้วยระบบดิจิทัล การผลิตน้ำหนักสี จัดวางหน้าด้วยโปรแกรม ตรวจสอบการทำปรู๊ฟ การทำแม่พิมพ์ และการควบคุมคุณภาพงานก่อนพิมพ์ด้วยมาตรฐานการพิมพ์
อาจารย์ผู้สอนให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความเหมาะสมในห้องเรียน หรือผ่านทาง Social Network เช่น Microsoft Teams, Zoom เป็นต้น
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 สอดแทรกเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมในการสอนให้แก่นักศึกษา
1.2.2 ปลูกฝังจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
1.2.3 ให้ความสำคัญด้านการตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.4 จัดแบ่งกลุ่มปฏิบัติงานเพื่อให้นักศึกษาได้ฝึกทักษะการแสดงออกทางความคิด ภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม ตลอดจนการทำงานร่วมกับผู้อื่น
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการส่งงานตามกำหนดเวลาที่มอบหมาย
1.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรม
1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ รวมทั้งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่กำหนด
1.3.4 ประเมินจากพฤติกรรมการปฏิบัติตามกฎระเบียบของข้อบังคับต่าง ๆ อาทิเช่น การสอบ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการผลิตงานก่อนพิมพ์ การออกแบบสื่อสิ่งพิมพ์ การจัดวางหน้าสื่อสิ่งพิมพ์ การตรวจสอบและควบคุมคุณภาพงานก่อนพิมพ์ให้ได้ตามมาตรฐาน
2.1.2 สามารถนำความรู้ หลักการ และทฤษฎีต่าง ๆ มาใช้ในงานที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีก่อนพิมพ์
2.2.1 บรรยายเนื้อหาในภาคทฤษฎีร่วมกับสื่อนำเสนอ ผ่านทาง Microsoft Teams
2.2.2 ภาคปฏิบัติสอนการใช้โปรแกรมและการใช้งานอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานเทคโนโลยีก่อนพิมพ์ ผ่านทาง Microsoft Teams
2.2.3 กำหนดกิจกรรมโดยให้นักศึกษา ฝึกปฏิบัติ จัดทำรายงาน ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีก่อนพิมพ์
2.2.4 มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้านเทคโนโลยีก่อนพิมพ์นอกชั้นเรียน รวมทั้งนำเสนอข้อมูลที่ได้ผ่านทาง Microsoft Teams
2.3.1 ประเมินจากการสอบกลางภาค และการสอบปลาย ด้วยข้อสอบที่เน้นความเข้าใจเนื้อหาด้านหลักการและทฤษฏี
2.3.2 ประเมินจากผลการปฎิบัติงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์ และงานกิจกรรมต่าง ๆ ผ่านระบบ online
2.3.3 ประเมินจากการค้นคว้าข้อมูลในการทำรายงาน และการนำเสนอหน้าชั้นเรียนผ่านทาง Microsoft Teams
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติจริง ตามหัวข้องานที่กำหนด และจัดทำรายงาน รวมทั้งนำเสนอผ่าน Microsoft Teams
3.2.2 มอบหมายงานให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติในแต่ละสัปดาห์
3.3.1 ประเมินผลตามสภาพจริงในการปฏิบัติงาน และการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมายผ่าน Microsoft Teams
3.3.2 ประเมินจากผลงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละสัปดาห์
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และสามารถปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคมได้อย่างเหมาะสม
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 จัดกิจกรรมในการฝึกปฏิบัติ วิเคราะห์และอภิปรายผล
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนองานหลังจากฝึกปฏิบัติให้สอดคล้องกับทฤษฎีที่ได้ศึกษาผ่าน Microsoft Teams
4.3.1 ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา ในการนำเสนอรายงานผ่าน Microsoft Teams
4.3.2 ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษาและประยุกต์ ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่น่าเชื่อถือด้วยตนเอง และนำเสนอผ่าน Microsoft Teams
5.2.2 การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.3.1 ประเมินจากการนำเสนอในชั้นเรียนด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายผล และวิธีอภิปราย
6.1.1 มีทักษะในแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.2.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.2.1 บรรยาย สาธิตวิธีการปฏิบัติงานผ่าน Microsoft Teams
6.2.2 ให้คำแนะนำ ปรึกษาแก่นักศึกษาในการปฏิบัติงานผ่านระบบ online เช่น Microsoft Teams
6.2.3 นักศึกษาสรุปผลและนำเสนอรายงานผ่าน Microsoft Teams
6.3.1 กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน
6.3.2 ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ
6.3.3 ความตรงต่อเวลาในการส่งงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1 2 1 2 3
1 BTEPP127 เทคโนโลยีก่อนพิมพ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม 1. การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย 2. ความรับผิดขอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 ความรู้ 1. การทดสอบกลางภาค และปลายภาค 2. ประเมินผลจากรายงานนักศึกษาและการนำเสนองานในชั้นเรียน 3. ประเมินผลงานที่ปฏิบัติ 8, 17 ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 ทักษะทางปัญญา 1. ประเมินผลตามสภาพจริงในการปฏิบัติงาน 2. การนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงานหน้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 30%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1. พฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอผลงานสำเร็จและรายงาน ตลอดจนการร่วมกันทำกิจกรรมต่างๆ ภายในกลุ่ม 2. การตรงต่อเวลาในการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 1. การนำเสนอโดยใช้สื่อที่เหมาะสม 2. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายร่วมกันในกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา 5%
6 ทักษะพิสัย 1. กระบวนการทำงานถูกต้องตามขั้นตอน 2. ผลงานสำเร็จที่มีคุณภาพ 3. ความตรงต่อเวลาในการส่งงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
สุณี  ภู่สีม่วง, วรรณา  สนั่นพาณิชกุล, ผกามาศ ผจญแกล้ว และคณะ. เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีก่อนพิมพ์ หน่วยที่ 1-7
          (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1). พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2540 ปรังปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2549. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
          มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
สุณี  ภู่สีม่วง, แววบุญ  แย้มแสงขันธ์, ทัศนีย์  ลิ้มสุวรรณ และคณะ. เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีก่อนพิมพ์ หน่วยที่ 8-15.
          พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2556. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
สุณี  ภู่สีม่วง, วรรณา  สนั่นพาณิชกุล, ผกามาศ ผจญแกล้ว และคณะ. เอกสารการสอนชุดวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพิมพ์และ
          บรรจุภัณฑ์ หน่วยที่ 8-11. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2540 ปรังปรุงครั้งที่ 1 พ.ศ. 2549. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช,
          มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, นนทบุรี.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1  การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3  ข้อเสนอแนะผ่าน Social Network ที่ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การสังเกตการณ์สอน
2.2  ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ