การวิจัยทางธุรกิจและสถิติ

Business Research and Statistics

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.  รู้และเข้าใจหลักการวางแผนการวิจัยทางธรุกิจ
2.  รู้และเข้าใจเกี่ยวกับสถิติเชิงพรรณนาสำหรับการวิจัยทางธุรกิจ
3.  รู้และเข้าใจเกี่ยวกับสถิติเชิงอนุมานสำหรับการวิจัยทางธุรกิจ
4.  สามารถใช้โปรแกรมสำเร็จรูป และสรุปผลการวิจัยได้
5.  สามารถเขียนโครงการวิจัย ดำเนินการวิจัย และเขียนรายงานการวิจัยได้
6.  ปลูกฝังนิสัยและส่งเสริมให้นักศึกษาเป็นผู้มีความละเอียดรู้จักเหตุผล
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวการวิจัยและสถิติสำหรับการวิจัยไปประยุกต์ในเชิงธุรกิจที่มีความเปลี่ยนแปลงทางด้านเศรษฐกิจอยู่เสมอ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ ที่มาและการเตรียมการวิจัย การดำเนินการวิจัย การเขียนโครงการและรายงานการวิจัย ซึ่งจะนำมาประยุกต์ใช้ในเชิงธุรกิจ การวิจัยทางธุรกิจเพื่อพัฒนาแก้ปัญหาชุมชนและสังคม โดยฝึกปฏิบัติงานวิจัยในพื้นที่จริง ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสถิติสำหรับการวิจัย การเลือกใช้สถิติสำหรับการทดสอบสมมติฐาน
อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มนอกชั้นเรียน ตามความต้องการของนักศึกษา 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) ดังนี้
3.1  วันพุธ (คาบกิจกรรม) เวลา 15.00 - 17.00 น. ของทุกสัปดาห์ ห้อง SC814
3.2  e-mail: wiroj_mongkolthep@hotmail.com หรือ Group Line วิชาการวิจัยทางธุรกิจและสถิติ ได้ทุกวัน
1.1.1 มีความรู้ความเข้าใจในคุณค่าแห่งวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพ มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ
1.1.2 มีความซื่อสัตย์สุจรติ มีวินัย เคารพและสามารถปฏิบัติตามกฏระเบีบของสถาบันและสังคม
1.1.3 สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
1.1.4 มีจิตสำนึกและพฤติกรรมที่คำนึงถึงประโยชน์ส่วนรวมมากว่าประโยชน์ส่วนตนอย่างมีคุณธรรม
- ให้นักศึกษาเข้าชั้นเรียนสม่ำเสมอและตรงต่อเวลา
- ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียน
- มอบหมายงาน แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน ตามวันเวลาที่ได้กำหนด
- ให้นักศึกษาแต่งกายให้ถูกต้องตามระเบียบฯ
- เช็คชื่อนักศึกษาหลังจากเวลาเรียนไปแล้ว 15 นาที
- สังเกตนักศึกษาในทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียน
- ตรวจผลงานที่มอบหมายงาน
- สังเกตการแต่งกายของนักศึกษา (หากนักศึกษาแต่งกายผิดระเบียบฯ ผู้สอนจะทำการว่ากล่าวตักเตือน)
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจในองค์ความรู้ทางด้านอื่นที่สัมพันธ์กับองค์ความรู้ด้านการบัญชี โดยสามารถบูรณาการและนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
2.1.3 มีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการปฏิบัติงานด้านการบัญชีและอื่นๆ โดยใช้หลักวิธีการเรียนรู้จากประสบการณ์
2.1.4 สามารถติดตามการเปลี่ยนแปลงทางวิชาการ การวิจัย และวิชาชีพ ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง
- ให้นักศึกษาตอบคำถามในเนื้อหาที่สอน
- ให้นักศึกษายกตัวอย่างเพิ่มเติมจากเนื้อหาที่สอน
- ทำข้อสอบประจำบทเรียน
- สังเกตลักษณะคำตอบและการมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
- สังเกตลักษณะการยกตัวอย่างและการมีส่วนร่วมในการตอบคำถาม
- ข้อสอบประจำบทเรียน
3.1.1 สามารถสืบค้นข้อมูล ประมวลข้อมูล และแนวคิดต่างๆ เพื่อนำไปใช้ในการระบุและวิเคราะห์ปัญหาที่มีความซับซ้อนได้ด้วยตนเอง
3.1.2 สามารถประยุกต์และบูรณาการความรู้ทางการบัญชีและด้านอื่นที่สัมพันธ์กัน ใช้ทักษะทางวิชาชีพและดุลยพินิจในการแก้ไขปัญหา รวมทั้งเสนอแนะแนวทางใหม่ในสถานการณ์ต่างๆ อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากการตัดสินใจ
3.1.3 สามารถติดตาม ประเมินผล และรายงานผลได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน
- ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียน
- มอบหมายงาน แบบฝึกหัดท้ายบทเรียน ตามวันเวลาที่ได้กำหนด
- ทำข้อสอบประจำบทเรียน
- สังเกตนักศึกษาในทำแบบฝึกหัดในชั้นเรียน
- ตรวจผลงานที่มอบหมายงาน
- ข้อสอบประจำบทเรียน
4.1.1 สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.2 มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่น และปรับตัวให้เข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมขององค์กรได้เป็นอย่างดี
4.1.3 มีความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ สามารถใช้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกในการแก้ไขปัญหาในสถานกาณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมงาน
4.1.4 มีความรับผิดชอบการพัฒนาความรู้ความสามารถทางวิชาชีพของตนเองอย่างต่อเนื่อง
- ให้นักศึกษาศึกษาและสืบค้นงานวิจัยทางธรุกิจจากเว็บไซต์ ตลอดจนนำเสนองานและโครงร่างการวิจัยฯ หน้าชั้นเรียน เป็นรายกลุ่ม
- ตรวจผลงานและการนำเสนอผลงาน
5.1.1 มีทักษะการใช้วิธีวิเคราะห์เชิงปริมาณเพื่อการตัดสินใจอย่างสร้างสรรค์ในการแปลความหมาย และเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขปัญหาหรือข้อโต้แย้ง
5.1.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกใช้รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสมกับปัญหาและกลุ่มผู้ฟังที่แตกต่างกัน
5.1.3 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสมในการเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลความหมาย และการสื่อสารสารสนเทศ
- ให้นักศึกษาศึกษาและสืบค้นงานวิจัยทางธรุกิจจากเว็บไซต์ ตลอดจนนำเสนองานและโครงร่างการวิจัยฯ หน้าชั้นเรียน เป็นรายกลุ่ม
- ตรวจผลงานและการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3
1 BACAC151 การวิจัยทางธุรกิจและสถิติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
2 2.2, 2.3, 2.4, 3.1, 3.2, 3.3 การสอบปลายภาค 18 25%
3 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 เสนอโครงร่างการวิจัย ดำเนินการวิจัย และเขียนรายงานการวิจัย 13-16 20%
4 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 นำเสนอผลงานวิจัย 17 30%
5 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2, 5.3 งานที่มอบหมายแต่ละบทเรียน 1-8, 9-12 15%
6 1.3, 1.4 เจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบในรายวิชา 1-8, 10-17 10%
1. กัลยา วานิชย์บัญชา. (2554). การวิเคราะห์สถิติ: สถิติสำหรับการบริหารและวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 13). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2. นราศรี ไววนิชกุล และชูศักดิ์ อุดมศรี. (2543). การวิจัยธุรกิจ. พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3. ทองใบ สุดชารี. (2546). เอกสารคำสอนวิชาการวิจัยธุรกิจ. คณะวิทยาการจัดการ สถาบันราชภัฏอุบลราชธานี.
4. วิโรจน์ มงคลเทพ. (2550). รายงานการวิจัยเรื่อง บทบาทและคุณลักษณะของอาจารย์ที่ปรึกษา ในทัศนะของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
5. วิโรจน์ มงคลเทพ. (2549). รายงานการวิจัยเรื่อง ปัจจัยที่มีอิทธิผลต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่ผ่านการคัดเลือกโดยวิธีโควตา และการสอบคัดเลือกของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
6. วิโรจน์ มงคลเทพ. (2562). ตำราวิชาสถิติสำหรับวิทยาศาสตร์.  สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน.
7. ศิริชัย กาญจนวาสี. (2550). สถิติประยุกต์สำหรับการวิจัย (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
8. ศิริลักษณ์ สุวรรณวงศ์. (2538). ทฤษฎีและเทคนิคการสุ่มตัวอย่าง. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
9. ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2548). การวิจัยธุรกิจ. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
10. สรชัย พิศาลบุตร, เสาวรส ใหญ่สว่าง, และปรีชา อัศวเดชานุกร. (2553). การสร้างและประมวลผลข้อมูลจากแบบสอบถาม (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: วิทยพัฒน์.
11. สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2546). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: เฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง.
12. สุรินทร์ นิยมางกูร. (2546). เทคนิคการสุ่มตัวอย่าง (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
13. https://tdc.thailis.or.th/tdc/basic.php
14. http://www.thairesearch.in.th/
15. http://library.cmu.ac.th/digital_collection/etheses/index.php
16. http://intanin.lib.ku.ac.th/
17. http://watpon.in.th/thai/mod/page/view.php?id=3
18. https://www.tci-thaijo.org/
อาจารย์ผู้สอนได้ให้นักศึกษารายงานตนเองเพื่อสะท้อนถึงความรู้ความเข้าใจต่อการเรียนรายวิชานี้ โดยเขียนบรรยายลงบนกระดาษที่แจกให้ในชั้นเรียน
การประเมินการสอนโดยนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ซึ่งนักศึกษาจะต้องทำการประเมินผลการสอนออนไลน์ในระบบทะเบียนกลางของมหาวิทยาลัย
แก้ไขข้อบกพร่องจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา ได้แก่ ด้านการสอน ด้านสื่อ ด้านประเมิน และด้านปกครอง
4.1  ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา จากการตั้งคำถามต่างๆ เพื่อตรวจสอบความรู้ความเข้าใจของนักศึกษา
4.2  ทวนสอบงานที่มอบหมายของนักศึกษา ผลการสอบกลางภาค และผลการสอบปลายภาค
4.3  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจผลงานที่นำเสนอ โครงร่างการวิจัยฯ ข้อสอบ คะแนนสอบ และคะแนนพฤติกรรมการตอบคำถามและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
5.1  ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการประเมินการโดยนักศึกษาที่ลงทะเบียนในรายวิชา
5.2  วิเคราะห์และสังเคราะห์ผลการเรียนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา
5.3  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหา โดยวิธีการสอนที่หลากหลายและ/หรือจากงานวิจัยของอาจารย์ผู้สอน (ถ้ามี)