กลศาสตร์เครื่องจักรกล

Mechanics of Machinery

เพื่อให้นักศึกษาได้ศึกษาเกี่ยวกับนิยามศัพท์ กลไกและเครื่องจักรกล การวิเคราะห์ความเร็วและความเร่ง ระบบพลวัต การวิเคราะห์แรงเชิงคิเนแมติกส์และไดนามิกส์ของอุปกรณ์เชิงกล กลไกยึดโยง ขบวนเฟือง และระบบเชิงกล การถ่วงดุลของระบบเชิงกล
2.1 เพื่อให้รายวิชามีความทันสมัย ครอบคลุมต่อองค์ความรู้และเทคโนโลยีในปัจจุบัน
2.2 เพื่อให้รายวิชามีการจัดการเรียนการสอนที่สอดคล้องต่อความต้องการของนศ. และความต้องการของสถานประกอบการหรือผู้ใช้บัณฑิต
2.3 เพื่อพัฒนารายวิชาและวิธีการสอน เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดประโยชน์สูงสุด
ศึกษาเกี่ยวกับนิยามศัพท์ กลไกและเครื่องจักรกล การวิเคราะห์ความเร็วและความเร่ง ระบบพลวัต การวิเคราะห์แรงเชิงคิเนแมติกส์และไดนามิกส์ของอุปกรณ์เชิงกล กลไกยึดโยง ขบวนเฟือง และระบบเชิงกล การถ่วงดุลของระบบเชิงกล
3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ตามตาราง office hour หรือตามการนัดหมาย
1.1.1 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างถึงผลดีและผลเสีย
1.3.1 จิตพิสัยของนักศึกษาตลอดภาคการศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจในกลศาสตร์เครื่องจักรกล เพื่อประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญของกลศาสตร์เครื่องจักรกล ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางกลศาสตร์เครื่องจักรกลกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาทางกลศาสตร์เครื่องจักรกลด้วยวิธีที่เหมาะสม รวมถึงสามารถประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โประแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับปัญหาทางกลศาสตร์เครื่องจักรกล
2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะทางกลศาสตร์เครื่องจักรกลในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
2.2.1 บรรยายและยกตัวอย่างประกอบ โดยการใช้หลักการทางด้านกลศาสตร์เครื่องจักรกล
2.3.1 งานและการบ้าน
2.3.2 การสอบย่อย สอบกลางภาค และปลายภาค
3.1.1 มีความคิดทางด้านกลศาสตร์เครื่องจักรกลอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
3.1.2 สามารถคิด วิเคราะห์ และ แก้ไขปัญหาทางด้านกลศาสตร์เครื่องจักรกลได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานด้านกลศาสตร์เครื่องจักรกลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1.3 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ทางกลศาสตร์เครื่องจักรกลอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัฒกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้ทางกลศาสตร์เครื่องจักรกลจากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.4 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมเรื่องกลศาสตร์เครื่องจักรกลได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
3.2.1 บรรยายและยกตัวอย่างประกอบ โดยการใช้หลักการทางด้านกลศาสตร์เครื่องจักรกล
3.3.1 งานและการบ้าน
3.3.2 การสอบย่อย สอบกลางภาค และปลายภาค
4.1.1 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทางกลศาสตร์เครื่องจักรกลของตนเองและสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.2.1 บรรยายและยกตัวอย่างประกอบ โดยการใช้หลักการทางด้านกลศาสตร์เครื่องจักรกล
4.3.1 ถามตอบเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ภายในห้องเรียน
5.1.1 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวนและเครื่องมือทางกลศาสตร์เครื่องจักรกล เพื่อประกอบวิชาชีพทางด้านกลศาสตร์เครื่องจักรกลที่เกี่ยวข้องได้
5.2.1 บรรยายและยกตัวอย่างประกอบ โดยการใช้หลักการทางด้านกลศาสตร์เครื่องจักรกล
5.3.1 งานและการบ้าน
5.3.2 การสอบย่อย สอบกลางภาค และปลายภาค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 2.5 3.1, 3.3, 3.4, 3.5, 5.5 สอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค สอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5 9 13 17 15% 15% 15% 15%
2 1.2, 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 2.5 3.1, 3.3, 3.4, 3.5, 5.5 โปรเจค 16 20%
3 2.1, 2.2, 2.3, 2.4, 2.5 3.1, 3.3, 3.4, 3.5, 5.5 งานและการบ้าน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 1.2 จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.1 Hamilton H. Mabie, Charles F. Reinholtz, Mechanisms and Dynamics of Machinery, John Wiley & Sons, Inc.
1.2 Kenneth J. Waldron and Gary L. Kinzel, Kinematics, Dynamics, and Design of Machinery, John Wiley & Sons, Inc.
2.1 Robert L. Norton, Kinematics and Dynamics of Machinery, McGraw-Hill Companies, Inc.
2.2 S. S. Rattan, Theory of Machines, Tata McGraw Hill Education Private Limited.
2.3 สุจินต์ บุรีรัตน์ “กลศาสตร์กลไกและเครื่องจักรกล” มหาวิทยาลัยขอนแก่น
2.4 ภาณุ ประทุมนพรัตน์ “กลศาสตร์เครื่องจักรกล 1” ศูนย์กลางสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล
2.5 มงคล คธาพันธ์ “กลศาสตร์เครื่องจักรกล” ซีเอ็ดยูเคชั่น จากัด (มหาชน)
2.6 วุฒิชัย กปิลกาญจน์ “กลไกและพลศาสตร์ของเครื่องจักรกล” ฟิสิกส์เซ็นเตอร์ การพิมพ์
ตำรา เอกสาร โปรแกรม และเวปไซต์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน
โดยการประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษาผ่านระบบออนไลด์ในปลายภาคการศึกษา จากนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน
2.1 โดยการประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษาผ่านระบบออนไลด์ในปลายภาคการศึกษา จากนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน
2.2 ประเมินการสอนโดยพิจารณาจากผลการเรียน ผลการสอนของนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียน หากนศ.ส่วนใหญ่มีผลการเรียนอยู่ในเกณฑ์ดี อาจหมายความได้ว่า ใช้กลยุทธ์ในการสอนได้ดี
2.3 สังเกตุนศ.ในขณะที่ให้ทำแบบฝึกหัดในชั่วโมงเรียน หรือสังเกตจากการบ้านหรืองานที่นศ.ทำส่ง เพื่อพิจารณาถึงผลสัมฤทธิของการสอนในชั่วโมงก่อนหน้า
ทำการปรับปรุงการสอนเป็นรายสัปดาห์ โดยใช้ผลจากข้อ 2.3 เป็นตัวพิจารณา
ไม่มีการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ในรายวิชานี้
หลังจากสิ้นภาคการศึกษา ผู้สอนจะนำผลจากข้อ 1 และ 2 ของหมวดที่ 7 นี้ มาพิจารณาเพื่อจัดทำรายงานเอกสาร มคอ.5 เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงรายวิชานี้ในภาคการศึกษาหน้าต่อไป