การทำตัวเรือนเครื่องประดับด้วยโลหะ

Metal of Jewelry Mastering

1.1 รู้ความหมายความสำคัญของวัสดุ อุปกรณ์ เครื่องจักร การทำเครื่องประดับ
1.2 เข้าใจการทำตัวเรือนเครื่องประดับด้วยโลหะ
1.3 ปฏิบัติงานการขึ้นรูปชิ้นส่วนตัวเรือนเครื่องประดับ
1.4 ปฏิบัติงานการการเชื่อมประกอบบัดกรี
1.5 ปฏิบัติงานการตกแต่งรูปทรงงานสำเร็จ
1.6 เห็นคุณค่าของการทำตัวเรือนเครื่องประดับด้วยโลหะ
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา การทำตัวเรือนเครื่องประดับด้วยโลหะ สำหรับสอนนักศึกษาสาขาวิชาสิ่งทอและเครื่องประดับ
 
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการเตรียม วัสดุอุปกรณ์ สำหรับการทำตัวเรือนเครื่องประดับด้วยโลหะ การทำตัวเรือน การหลอมและการขึ้นรูปตัวเรือน การเชื่อมประกอบตัวเรือนเครื่องประดับด้วยโลหะ
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
มีคุณธรรม จริยธรรม ต่อการทำตัวเรือนเครื่องประดับด้วยโลหะ
มีความรู้ ความสามารถในการทำตัวเรือนเครื่องประดับด้วยโลหะ
มีทักษะทางปัญญา สามารถพัฒนาความคิด และความคิดรอเริ่มในการทำตัวเรือนเครื่องประดับด้วยโลหะ
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบระหว่างผู้เรียน และผู้สอน
เลือกใช้เครื่องมือสื่อสาร และการเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้เหมาะสม
มีทักษะในการประยุกต์ การทำงาน ได้ด้วยตนเอง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
เอกสารประกอบการสอน
สมชาย มนัสเกียรติกุล.2550. คู่มือการชุบโลหะมีค่าบนเครื่องประดับ. ห้างหุ้นส่วนจำกัดบางกอกบล๊อก. 88 หน้า
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน ในห้องบรรยาย และระบบออนไลน์ แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 อภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียนท้ายชั่วโมง
2.2 การทวนสอบผลประเมินการปฏิบัติงาน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
4.2 คณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 ผู้สอนควรให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ใช้ความรู้ กับเทคโนโลยีใหม่ ๆ หรืองานวิจัย