หลักการตลาดในงานธุรกิจดิจิทัล

Principles of Marketing for Digital Business

เพื่อศึกษา และปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการตลาดในธุรกิจดิจิทัลองค์ประกอบของโครงสร้างระบบการตลาด และความสัมพันธ์ขององค์ประกอบการตลาดในงานธุรกิจดิจิทัล หลักเกณฑ์การเลือกตลาดเป้าหมายในงานธุรกิจดิจิทัล เข้าใจการประยุกต์เทคโนโลยีสมัยใหม่ของการตลาดในงานธุรกิจดิจิทัล และมีจริยธรรมการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม
ใจบทบาทการตลาดที่มีต่อระบบเศรษฐกิจและสังคม รู้องค์ประกอบของโครงสร้างระบบการตลาด และความสัมพันธ์ขององค์ประกอบการตลาดในงานธุรกิจดิจิทัล รู้หลักเกณฑ์การเลือกตลาดเป้าหมายในงานธุรกิจดิจิทัล เข้าใจการประยุกต์เทคโนโลยีสมัยใหม่ของการตลาดในงานธุรกิจดิจิทัล มีจริยธรรมการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม

 
ศึกษาบทบาทและความสำคัญของการตลาดที่มีต่อสังคม เศรษฐกิจ และการพัฒนาแนวความคิดทางการตลาดในงานธุรกิจดิจิทัล กิจกรรมและหน้าที่ต่าง ๆ ทางการตลาด ระบบข้อมูลสารสนเทศและการวิจัยการตลาดในงานธุรกิจดิจิทัล ลักษณะและพฤติกรรมการซื้อของแต่ละตลาด ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนดส่วนประสมการตลาด การวางแผนกลยุทธ์การตลาดที่เหมาะสมสำหรับแต่ละส่วนประสม  เข้าใจการประยุกต์เทคโนโลยีสมัยใหม่ในกิจกรรมการตลาด จริยธรรมการตลาดและความรับผิดชอบต่อสังคม
วันจันทร์ อังคาร เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องพักครูสาขาวิชาระบบสารสนเทศทางคอมพิวเตอร์ 3.2  e-mail; wonglerdee@gmail.com เวลา 18.00 – 20.00 น. ทุกวัน 3.2 Line กลุ่มของ นักศึกษา
- ตะหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งที่เกิดขึ้นได้  
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ  
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม  
- เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
 
- สอดแทรกเนื้อหาเกี่ยวกับคุณธรรมและจริยธรรมของการนำเสนองาน หรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับคุณธรรม จริยธรรม ในชั้นเรียนในโอกาสต่างๆ
- เช็คคือก่อนเข้าชั้นเรียน และการสอนแบบมอบหมายงานในชั้นเรียน
- การสังเกต พฤติกรรมและความสนใจ
- ประเมินผลงานที่รับผิดชอบร่วมกันของกลุ่ม
- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
-  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
- สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
-  สามารถบูรณาการความรู้กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ได้แก่ การสอนบรรยายร่วมกับการฝึกปฏิบัติจัดทำสื่อ
- การสอนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ (Co-Operative Learning) การสอนแบบศึกษาด้วยตนเอง ด้วยการค้นคว้างานการนำเสนอทางด้านอาหารทางอินเตอร์เน็ต
- การสอนด้วยวิชาปฏิบัติการควบคู่ไปกับการเรียนการสอนภาคทฤษฎี
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฎี
- ประเมินจากผลงานสื่อการนำเสนอ
-  มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
- สอนโดยเน้นให้รู้ถึงเทคนิคการนำเสนอในรูปแบบใหม่ๆ
- สอบแบบบรรยายพร้อมลงมือจัดทำสื่อ
- สอนแบบบรรยายพร้อมฝึกปฏิบัติการพร้อมนำเสนอ
- ประเมินจากผลงาน ทั้งรายบุคคลและกลุ่ม
- ประเมินจากเล่มรายงานโครงงานทดลอง
- การสอบย่อย การสอบข้อเขียนกลางภาคและปลายภาค
-   มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดี
-  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
-   สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
- นักศึกษาฝึกปฏิบัติการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มในการฝึกปฏิบัติทดลองจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ
- มอบหมายงานกลุ่มจากกิจกรรมการเรียนการสอนในชั่วโมงปฏิบัติการ
-  กำหนดความรับผิดชอบของนักศึกษาในการส่งงานและรายงาน
- ประเมินจากผลของการทำรายงานการปฏิบัติการแต่ละครั้ง
-  ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
-  ประเมินจากผลการปฏิบัติงาน 
-  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
-  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
-  สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่าง ประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มอบหมายการจัดทำสื่อทางด้านการตลาด  และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
- นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอหน้าชั้นเรียน
- ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการฝึกปฏิบัติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเตรียมความพร้อมทั้งวัสดุและอุปกรณ์ การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
2 ด้านความรู้ ฝึกปฏิบัติ 1-8 และ 10-16 10
3 ด้านความรู้ สอบกลางภาค 9 25
4 ด้านความรู้ สอบปลายภาค 17 25
6 ด้านความสัมพันธ์ความรับผิดชอบ งานกลุ่ม และงานเดี่ยว ตลอดภาคเรียน 20
6 ด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร เล่มรายงาน 1-15 10
John Wiley & Sons, Inc. (2017). Marketing 4.0. Nation Book.
หนังสือพิมพ์ธุรกิจต่าง ๆ เช่น ประชาชาติธุรกิจ ฐานเศรษฐกิจ ผู้จัดการ ฯลฯ วารสาร นิตยสาร บทความหรืองานวิจัยต่าง ๆ ทางการตลาด และ เว็บไซด์ทางธุรกิจ
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน 1.2 แบบประเมิลผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 การติดต่อ ปรึกษา ส่งงานทางอีเมล์ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษ
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2 ผลงานกลุ่มของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์ท่านอื่น 4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการตลาดให้มีความหลากหลายมากขึ้น