ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์

Human-Computer Interaction

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้

เพื่อศึกษาหลักการพื้นฐานและฝึกปฏิบัติของการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ เพื่อศึกษาถึงความสามารถ และข้อจำกัดของมนุษย์และคอมพิวเตอร์ เพื่อส่งเสริมให้เกิดทักษะในการวิเคราะห์ ออกแบบอุปกรณ์ หรือระบบเชื่อมต่อประสานระหว่างมนุษย์และคอมพิวเตอร์ ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม ระเบียบและข้อบังคับต่างๆ สามารถติดตามวามก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไประยุกต์ รู้ เข้าใจ และสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญในการออกแบบระบบปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งการทำเสนอและการเขียน เพื่อปฏิสัมพันธ์ระหว่างระบบคอมพิวเตอร์และมนุษย์
เพิ่มเนื้อหาที่เป็นปัจจุบันและใช้งานอย่างแพร่หลายมากขึ้น ทำให้นักศึกษามีความเข้าใจมากขึ้น เพิ่มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่นสื่อการสอนในรูปแบบภาษาอังกฤษ เพื่อให้นักศึกษาได้ค้นหาเนื้อหาเพิ่มเติมมากขึ้น

 
ศึกษาหลักการเบื้องต้นของการปฏิสัมมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย ปัจจัยด้านมนุษย์ การวิเคราะห์ประสิทธิภาพ กระบวนการรับรู้ ผลศึกษาความใช้งานได้ สภาพวะแวดล้อมของการทำงาน แนวทางการออกแบบระบบมีมีมนุษย์เป็นศูนย์กลาง แนวทางการประเมินผล การพัฒนาวิธีติดต่อผู้ใช้ทีมีประสิทธิผล มาตรฐานด้านความใช้งานได้ เทคโนโลยีด้านอุปกรณ์และระบบทีมีส่วนสัมพันธ์กับการใช้งานของมนุษย์ ส่วนสนับสนุนผู้บกพร่องในการรับรู้ ฝึกปฏิบัติการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ของอุปกรณ์และซอฟต์แวร์
Study about principle of Human Computer Interaction consist of humans, performance analysis, input method, result of usability, environment of task, human –centered system design, evaluation techniques, evaluation of user interface design, usability standard, hardware and system technology interaction with human. Disability interface support. Design practices of hardware and software interface.
 พุธและศุกร์ เวลา 8.00 - 12.00 น. ห้องพักอาจารย์สาขาวิทยาศาสตร์ โทร.054 710259 ต่อ 7254 รวม 6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์  E-mail; worawit@rmutl.ac.th
˜1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
š1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
š1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
š1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า และศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
˜1.5 เคารพกฏระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
˜1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม
š1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการด้านการออกแบบส่วนติดต่อผู้ใช้ในเว็บไซต์และแอบพลิเคชันต่างๆ ร่วมกันทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงาน

การกระทำตนเป็นแบบอย่างในการมีวินัย ขยัน ตรงต่อเวลาและรับผิดชอบ
มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตและเวลาที่ให้ ประเมินผลงานการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
˜2.2 สามารถวิเคราห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา
˜2.3 สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด
˜2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์
˜2.5 รู้ เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
˜2.6 มีความรู้ในแนาวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ
˜2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟแวร์ที่ใช้งานได้จริง
2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์และจากกรณีศึกษา การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน
การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน

การสังเกตพฤติกรรมและประเมินความเข้าใจในเนื้อหาของนักศึกษาจากการถาม-ตอบของนักศึกษาในชั้นเรียน
3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ
˜3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์
˜3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
˜3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
การมอบหมายงานหรือกรณีศึกษาที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และแก้ไขปัญหา การศึกษาค้นคว้าการเขียนรายงานและการนำเสนอผลงาน

การสอนแบบตั้งคำถาม
การประเมินจากการตอบคำถามในห้องเรียน และการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือแบบฝึกหัด
˜4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน
š4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
š4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
š4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
˜4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
การมอบหมายงานกลุ่มที่กำหนดกรณีศึกษาให้นักศึกษาต้องทำการวิเคราะห์ร่วมกัน การมอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล

การอภิปรายกลุ่มใหญ่
การประเมินจากโครงงานกลุ่มที่นำเสนอ

การประเมินจากการแบ่งงาน ความรับผิดชอบ ภายในกลุ่ม
˜5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นทีมีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
˜5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์
˜5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
˜5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
การสอนที่ส่งเสริมให้นักศึกษาตัดสินใจบนข้อมูลเชิงตัวเลข การสอนโดยการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล โดยใช้คำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเนื้องหาในแต่ละบทเรียน การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์

การนำเสนองานด้วยวิธีวาจา
การประเมินจากรายงานและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี

การประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทาง ปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ 5.ทักษะการ วิเคราะห์เชิง ตัวเลข การ สื่อสาร และ การใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 6 7 3 4 5 6 7 8 1 2 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4
1 BSCCS201 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรมและจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 2.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา การสอบกลางภาค 8 25%
4 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองาน/การรายงาน 4,10,15 35%
5 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การสอบปลายภาค 16 30%
ณรงค์ ล่ำดี.(2550). การออกแบบอินเตอร์เฟส (Interface Design).กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เคทีพี.
สตีฟ ครุก(Steve Krug), ออกแบบเว็บไซต์ให้เข้าใจง่าย และไม่ต้องใช้สมอง(Don’t make me think).กรุงเทพฯ : แมกซิออนซ์เพรซ,2556
Alan DIX, Janet Finlay, Gregory D. Abown, Russel Beale.Human-Computer Interaction(3rd), Prentice-Hall,2556
Gerard Jounghyun Kim, Human-Computer Interaction Fundamentals and Practice, CRC Press,2558
ไม่มี
เว็บไซด์ต่างๆ โดยใช้ คำสำคัญ “ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์” และคำสำคัญประจำเนื้อหาของแต่ละบท เพื่อใช้ในการค้นหา
 
1.1 ตอบคำถามในชั้นเรียน
1.2 ตรวจสอบจากการบ้าน หรือ แบบฝึกหัด
1.3 ประเมินการให้คะแนนของนักศึกษาด้วยกันเอง ในการนำเสนองาน หรือการทำแบบฝึกหัด
1.4 นักศึกษาสามารถนำผลงานหรือไอเดียที่เป็นโปรเจคส่งเข้าร่วมแข่งขันการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย(NSC)
ประเมินการสอนจากนักศึกษาเมื่อภาคเทอมการศึกษา และผลการเรียนของนักศึกษา
นำผลการเรียนของนักศึกษาและผลการประเมินการสอนของนักศึกษา ในปีก่อนหน้า มาวางแผนและปรังปรุงการสอน
ให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนและหลังการเรียน และประเมินจากการนำเสนองานหรือการส่งข้อเสนอเข้าร่วมการแข่งขันพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์แห่งประเทศไทย(NSC)
นำผลลัพธ์จากข้อ 1 และ 2 มาปรับปรุงแก้ไขในแต่ละสัปดาห์หลังจากประเมินแล้ว ส่วนกรณีผลการเรียน จะต้องทำการปรับปรุงเอกสารการสอน เพื่อให้สอดคล้องกับศักยภาพของนักศึกษา