คณิตศาสตร์เต็มหน่วย

Discrete Mathematics

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
1. นำความรู้เกี่ยวกับพีชคณิตไปใช้
2. นำคณิตศาสตร์แบบบูลีนไปใช้
3. นำความรู้เรื่องเครื่องจักรที่มีการแสดงสถานภาพได้จำกัดไปใช้
4. นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการศึกษาวิชาชีพวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์
เพื่อให้นักศึกษาได้มีความรู้เพียงพอที่จะไปประยุกต์ใช้ในวิชาชีพ รวมถึงเป็นพื้นฐานในการศึกษาต่อ มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับเนื้อหาวิชาให้ทันสมัยและเป็นปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีเซตเบื้องต้น วิธีการนับและคณิตศาสตรเชิงการจัด กราฟและการประยุกต์พีชคณิตบูลีน
    3.1  วันจันทร์ เวลา 13.00 - 16.00 น. ห้อง AV2 อาคาร 11
    3.2  e-mail: pk_g@rmutl.ac.th เวลา 20.00 - 24.00 น. ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา เกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม จริยธรรมที่เกี่ยวข้องที่จะนำมาปฏิบัติ พร้อมทั้งให้นักศึกษาอภิปรายกลุ่ม
2. มอบหมายงานให้นักศึกษาหาตัวอย่าง หรือหากรณีศึกษา โดยอาจารย์ผู้สอนให้ความสำคัญต่อการมีวินัย การต่อตรงเวลา การส่งงานในเวลาที่กำหนด
3. เน้นให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม จากเนื้อหาที่ได้เรียนรู้
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. ความมีวินัยและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่มและเดี่ยว  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
2.ทดสอบย่อย
3.ข้อสอบอัตนัยหรือปรนัย
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. ใบงานมอบหมายให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติ พร้อมกับการนำเสนอผลงาน
2.   ศึกษา ค้นคว้าข้อมูลเพิ่มเติม และระดมสมองในการแก้ไขปัญหา จากประเด็นปัญหาที่กำหนดไว้
1. การสังเกต
2. การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
3.ข้อสอบอัตนัยหรือปรนัย
4.ทดสอบย่อย
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล โดยกำหนดขอบเขตงานเป็นการไปศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเพิ่มเติม และยกตัวอย่างประกอบการนำความรู้ที่ได้จากบทเรียนไปประยุกต์ใช้กับสถานการณ์จริงได้อย่างเหมาะสม
1. การสังเกต
2. การนำเสนองาน
3. ประเมินตนเอง และเพื่อน  ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ใช้ Power point  
2. มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
3. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
4. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. การนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 BSCCC203 คณิตศาสตร์เต็มหน่วย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 2.1,
2.3,3.1,
3.2
ทดสอบย่อย
สอบกลางภาค
สอบปลายภาค
ตลอดภาคการศึกษา ,9 ,18 10%
30%
30%
2 1.1,1.3, 2.1,
2.3,3.1,
3.2, 5.1, 5.2
รายงาน
การทำงานกลุ่มและผลงาน
การส่งงานตามเวลา
การส่งงานตามที่มอบหมาย (ใบงาน, การบ้าน)
ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. ไพโรจน์ เยียระยง. (2559). ตรรกศาสตร์และทฤษฎีเซต. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2. ภัทรา เตชาภิวาทย์. (2537) คณิตศาสตร์เต็มหน่วย Discrete Mathematics. กรุงเทพฯ : ภาควิชาคณิตศาสตร์ มหาวิทยาลั เกษตรศาสตร์.
3. อนุชิต จิตพัฒนกุล. (2561). คณิตศาสตร์เต็มหน่วยและการประยุกต์. กองส่งเสริมวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
4. Acharjya D.P.  & Kumar Sree. (2009). Fundamental Approach to DiscreteMathematics. New Age International (P) Ltd Publishers.
5. John O'Donnell, Cordelia Hall & Rex Page. (2006). Discrete Mathematics Using a Computer. Springer.
6. Kenneth H. Rosen, John G. Michaels, Jonathan L. Gross, Jerrold W. Grossman & Douglas R. Shier (1999). Handbook of Discrete and Combinatorial  Mathematics. CRC Press.
7.  Kevin Ferland. (2009). Discrete Mathematics. Houghton Mifflin Company.
8. Peter Grossman. (2002). Discrete Mathematics for Computing. Palgrave Macmillan.
9. Richard Johnsonbaugh. (2007). Discrete Mathematics. Pearson Education Limited, Pearson_Prentice Hall.
10. Shankar G. Rao. (2007). Discrete Mathematics Structures. New Age International (P) Ltd Publishers.
11. Steven G. Krantz. (2009). Discrete Mathematics. Demystified McGraw.
12. Susanna S. Epp. (2010). Discrete Mathematics with Applications, 4th Edition. Brooks Cole.
13. Wallis W.D. (2012). A Beginner's Guide to Discrete Mathematics. Birkhäuser Basel.
          ไม่มี
ไม่มี  
- แบบประเมินผู้สอน 
- การสังเกตการณ์ในการสอน
- ผลการสอบตามจุดประสงค์ของแต่ละหัวข้อ
- การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
- แก้ไขข้อบกพร่อง จากแบบประเมินที่นักศึกษาประเมินผู้สอน
- การทำวิจัยในชั้นเรียน
 - การทวนสอบจากการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นที่ไม่ใช่ผู้สอน
 - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา เช่น ตรวจสอบข้อสอบ
- ปรับปรุงการเรียนการสอนตามผลการทวนสอบในข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอนเพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาจากงานวิจัยของอาจารย์
- นำผลการเรียนของนักศึกษามาปรับปรุงประสิทธิภาพของรายวิชา