การบริหารความขัดแย้งในองค์การและการเจรจาต่อรอง

Organizational Conflict Management and Negotiation

1. เข้าใจความหมาย และประเภทความขัดแย้งภายในองค์การ
2. จำแนกประเภทความขัดแย้งภายในองค์การ
3.ประยุกต์ใช้ความรู้ในการจัดการความขัดแย้งและการแก้ปัญหาความขัดแย้งภายในองค์การได้อย่างเหมาะสมตามสภาพแวดล้อมของธุรกิจจริง
4. เข้าใจความหมายและประเภทการเจรจาต่อรอง
5. ประยุกต์ใช้ความรู้ในการเจรจาต่อรองได้อย่างเหมาะสมตามสภาพแวดล้อมของธุรกิจ และตามสถานการณ์
6. แนวคิด ความสำคัญของการเจรจาต่อรอง หลักเบื้องต้นและกลยุทธ์ที่ใช้ในการเจราต่อรอง เพื่อเป็นพื้นฐานในการฝึกฝนทักษะในการเจรจาต่อรองเห็นคุณค่าของจรรยาบรรณธุรกิจและความรับผิดชอบต่อสังคม  7. สามารถประยุกต์ใช้การเจรจาต่อรอง ในการประกอบวิชาชีพในอนาคตสามารถวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่มีอิทธิพลต่อธุรกิจได้ เพื่อจะได้ตอบสนองอย่างเหมาะสมและสามารถแข่งขันได้
1. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการบริหารความขัดแย้งในองค์การ รวมถึงการเรียนรู้แนวทางการลดความขัดแย้ง การแก้ไขและเทคนิคการบริหารความขัดแย้งที่นำไปสู่การพัฒนา
2. เเพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ถึง หลักการต่าง ๆ ของการเจรจาต่อรอง สำหรับใช้เป็นในการประกอบวิชาชีพในอนาคต รวมทั้งให้เนื้อหาสอดคล้องกับบริบทปัจจุบันและความสนใจใฝ่รู้ของผู้เรียน
ศึกษาถึงปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน โดยมองความขัดแย้งระหว่างบุคคล กลุ่ม และองค์การ แนวทางการลดความขัดแย้ง การแก้ไขและเทคนิคการบริหารความขัดแย้งที่นำไปสู่การพัฒนา โดยมีการประยุกต์ใช้รูปแบบการเจรจาต่อรองกับสถานการณ์ที่เกิดขึ้นในองค์กรธุรกิจ
To study the conflicts in practical by a dispute between individuals, groups, and organizations. Guidelines to reduce conflict, improve and use conflict management techniques for leading to the development, and apply techniques of negotiation to the business situation.
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
(1) มีจิตนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
(4) เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. บรรยายภาคทฤษฎี
2. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  รวมถึง งานที่มอบหมายผ่านใบงาน
3. การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
4. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน
1. สอบเก็บคะแนนท้ายบทที่ไม่มีการออกสอบกลางภาคและปลายภาค  ข้อสอบแบบอัตนัย แสดงความคิดเห็น และทฤษฎีประกอบ
2. สอบตามรอบ กลางภาค ปลายภาค  มีแบบเลือกตอบ จับคู่ และ เขียนตอบ
3. การนำเสนอในชั้นเรียน 
 
(1) มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
(2) สามารถติดตามความก้าวหน้า ใฝ่รู่ทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
(3) สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. บรรยายภาคทฤษฎี
2. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  รวมถึง งานที่มอบหมายผ่านใบงาน
3. การนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
4. การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน
1. สอบเก็บคะแนนท้ายบทที่ไม่มีการออกสอบกลางภาคและปลายภาค  ข้อสอบแบบอัตนัย แสดงความคิดเห็น และทฤษฎีประกอบ
2. สอบตามรอบ กลางภาค ปลายภาค  มีแบบเลือกตอบ จับคู่ และ เขียนตอบ
3. การนำเสนอในชั้นเรียน 
(1) มีทักษะในการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
(2) มีทักษะในการนําความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
1. มอบหมายงานให้ศึกษาตามหัวข้อที่มอบหมาย ซึ่งหัวข้อสอดคล้องกับทักษะทางปัญญาในบทเรียนที่เป็นการเพิ่มแนวคิดสร้างสรรค์เชิงวิชาชีพ
1. การนำเสนอ  และรูปแบบการนำเสนอที่ครบถ้วนตามรูปแบบการประเมินของผู้สอน
(1) มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
(2) มีภาวะความเป็นผู้นําและผู้ตาม
(3) สามารถทํางานเป็นทีมและแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
(4) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. มอบหมายกิจกรรมกลุ่ม และการเข้าร่วมกิจกรรมระดับมหาวิทยาลัย และ ชุมชน
1. นำเสนอในรูปแบบรายงาน และ ภาพประกอบ
(1) เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้เหมาะสม
(2) สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแกัไขปัญหาอย่างเหมาะสม
(3) ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ ในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรมสากล
1. ส่งเสริม และสนับสนุนเข้าร่วมกิจกรรมเกี่ยวกับการเสริมทักษะภาษา กับทางคณะและมหาวิทยาลัย
2. มอบหมายงานที่เกี่ยวกับการใช้ภาษา และ สารสนเทศ
ติดตามการดำเนินกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
วิชัย ปีติเจริญธรรม, การเจรจาต่อรอง...ทางธุรกิจ,สำนักพิมพ์บุ๊คแบงก์, กรุงเทพมหานคร, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2546 คำนิตย์ ปานเพชร์, กลยุทธ์การต่อรอง, สำนักพิมพ์ PSP, กรุงเทพมหานคร, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2541 Watkins, Michael, การเจรจาต่อรอง = Negotiation, สำนักพิมพ์มิตรภาพการพิมพ์, กรุงเทพมหานคร, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2549 Maddux, Robert B, สุดยอด --- วิธีการเจรจาต่อรองที่ประสบผลสำเร็จ = Successful negotiation, สำนักพิมพ์ เอ็กซเปอร์เน็ท, กรุงเทพมหานคร, พิมพ์ครั้งที่ 2, 2547 Wallacy, Hugo, เจรจาต่อรองธุรกิจการค้าแบบนี้จึงจะรวย = the smart negotiator, สำนักพิมพ์กู๊ดมอร์นิ่ง, กรุงเทพมหานคร, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2546 Harry Mills, Persuading People กลยุทธ์การจูงใจคน, สำนักพิมพ์เอ็กซเปอร์เน็ท, กรุงเทพมหานคร, พิมพ์ครั้งที่ 1, 2554 วิชัย โถสุวรรณจินดา, ครบเครื่องเรื่องการเจรจาต่อรอง, สำนักพิมพ์ ส.ส.ท., กรุงเทพมหานคร, พิมพ์ครั้งที่ 4, 2553
บทความเกี่ยวกับการเจรจาต่อรอง
เว็บไซด์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ - การถามตอบ ระหว่างผู้สอนและผู้เรียน - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน - การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน - แบบประเมินประสิทธิภาพสอนและสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ของมหาวิทยาลัย - ให้นักศึกษาบันทึกประสิทธิผลการเรียนรู้รายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ - การสังเกตการณ์ของอาจารย์ผู้สอน - ผลการเรียนของนักศึกษา - พิจารณารายงานของนักศึกษา เพื่อประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา - การนำเสนอรายงานของนักศึกษา - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอน จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน - จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ฝึกให้นักศึกษาระดมสมองและอภิปรายร่วมกัน ให้เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละกลุ่มการเรียน - มีการปรับปรุงเอกสารการสอน เช่น กรณีศึกษาใหม่ๆ
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามความเหมาะสม - นำเสนอตัวอย่างใหม่ๆจากปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรือหน่วยงานต่าง ๆ เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องหลักการจัดการ และสามารถประยุกต์ความรู้นี้ได้