การออกแบบกราฟิก

Graphic Design

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในความหมายของการออกแบบกราฟิก ประวัติศาสตร์ พัฒนาการ ประเภทของงานออกแบบกราฟิก พื้นฐานการออกแบบงาน หลักในการใช้ และจัดวางตัวอักษร หลักการออกแบบงานกราฟิกแบบต่างๆ รวมถึงการทำงานร่วมกัน ความรับผิดชอบ และการนำเสนอผลงาน 
ปรับปรุงเนื้อหาให้มีตัวอย่างสื่อให้มากขึ้น และมอบหมายชิ้นงานให้มีการสร้างสรรค์ในเรื่องของการออกแบบกราฟิกและให้เหมาะสมกับชีวิตประจำวัน
ศึกษาความหมาย  ประวัติของการออกแบบกราฟิก  ขอบเขต  พื้นฐานการออกแบบตัวอักษรไทยและโรมัน  การพัฒนารูปแบบตัวอักษร  หลักการจัดวางตัวอักษร  หลักการออกแบบสัญลักษณ์  ประเภทสิ่งพิมพ์และกระบวนการผลิตสิ่งพิมพ์
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
- อาจารย์ประจำรายวิชา แจ้งให้คำปรึกษาทาง Social Network
 
- ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน - ให้ทำงานร่วมกัน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา การแต่งกาย
- รอบรู้ในศาสตร์ทางการออกแบบกราฟิก - มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการทำงานออกแบบกราฟิก
- บรรยาย - กิจกรรมกลุ่ม
ประเมินจากการสอบข้อเขียน
- สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมี วิจารณญาณ
- มอบหมายงานค้นคว้า
- ประเมินจากผลงานค้นคว้า
- มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมี มนุษยสัมพันธ์ที่ดี - สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
- การอภิปรายกลุ่ม
- พฤติกรรมในการเรียน การแสดงออก
- สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการ สื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มอบหมายงานค้นคว้า - การอภิปรายกลุ่ม - นำเสนอข้อมูล
- การนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAACD110 การออกแบบกราฟิก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 4.1, 4.3 การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา การแสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10
2 2.1, 2.2, 2.4 สอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค 2, 5, 9, 10, 11, 13, 15, 17 40
3 2.1, 3.1 การศึกษาค้นคว้าข้อมูล งานกลุ่ม งานเดี่ยว แบบฝึกหัด ตลอดภาคการศึกษา 40
4 1.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.1, 5.2 การนำเสนองาน สื่อที่ใช้ในการนำเสนอ การพูดนำเสนอ 1, 2, 8, 11, 16 10
การจัดการสีเพื่องานกราฟิก Color Management System /นิพัทธ์ ไพบูลย์พรพงศ์. การออกแบบกราฟิก = Graphic design ศิริพรณ์ ปีเตอร์ 10 ยอดกราฟิกดีไซเนอร์สายพันธุ์ไทย = Graphic designer issue / รัชภูมิ ปัญส่งเสริม. องค์ประกอบศิลป์เพื่องานกราฟิก / ธรรมศักดิ์ เอื้อรักสกุล. Be graphic สู่เส้นทางกราฟิกดีไซเนอร์ / โสรชัย นันทวัชรวิบูลย์. หลักการและกระบวนการออกแบบงานกราฟิกดีไซน์ = Graphic design principles / ปาพจน์ หนุนภักดี ; ปิยะบุตร สุทธิดารา, บรรณาธิการ.
New graphic design = The 100 best contemporary graphic designers Charlotte & Peter Fiell. Make it happen: materials and techniques for graphic design Depress Books. Graphic design basics Amy E. Arntson. Graphic design, referenced: a visual guide to the language, applications, and history of graphic design Bryony Gomez-Palacio, Armin Vit. The fundamentals of graphic design Meggs' history of graphic design
 
เน้นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของผู้เรียนโดยใช้วิธีการดังนี้ 1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.2 การแสดงความคิดเห็น 1.3 การส่งข้อเสนอส่วนตัวให้ผู้สอน โดยการเขียนแสดงความคิดเห็นในการสอน ผ่านช่องทางต่างๆ
1.4 การประเมินตนเองของผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.2 ผลการประเมินตามข้อ 1 2.3 การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา 2.4 อาจารย์ผู้สอนประเมินตัวเอง ความพึงพอใจการสอน ความเหมาะสมของการเตรียมการสอน ข้อควรปรับปรุงในการสอนครั้งต่อไป
3.1 บันทึกการสอนเพื่อเสนอการปรับปรุงแก้ไข 3.2 การประชุมคณาจารย์เพื่อปรับปรุงการสอน โดยใช้ข้อมูล ผลการประเมินของนักศึกษา ผลการเรียนของนักศึกษา การประเมินผลตนเอง บันทึกการสอน
4.1 ทวนสอบความถูกต้องของคะแนนอาจารย์ โดยประกาศคะแนนแต่ละส่วนให้นักศึกษาทวนสอบของตัวเอง เพื่อปรับปรุงแก้ไข 4.2 อาจารย์ทวนสอบการให้คะแนนกับพฤติกรรมของนักศึกษา 4.3 นักศึกษาประเมินตนเอง 4.4 ทวนสอบโดยกรรมการทวนสอบประจาหลักสูตร (สุ่มตรวจ)
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาในภาคการศึกษาต่อไป ในเรื่อง เนื้อหา ลำดับการสอน และวิธีประเมินผลการสอน