ปัญญาประดิษฐ์สำหรับธุรกิจ

Artificial Intelligence for Business

เข้าใจหลักการของปัญญาประดิษ
เข้าใจแนวคิด ของ การค้นหาแบบ ฮิวริสติกส์ การเรียนรู้ของเครื่องจักร ต้นไม้การติดสินใจ รวมถึงสามารถประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจได้
สามารถนำแนวคิด ระบบผู้เชี่ยวชาญ ปัญหาสเปซสถานะ มาช่วยเพิ่มประสิทธิภาพทางธุรกิจได้
สามารถ การประยุกต์เครื่องมือปัญญาประดิษฐ์ สำหรับเพิ่มประสิทธิภาพทางธุรกิจที่เหมาะสมได้
     เพื่อให้สอดคล้องกับสาระวิชาในกรอบมาตรฐานหลักสูตรระบบสารสนเทศทางธุรกิจ โดยมีการปรับปรุงให้ทันสมัยเหมาะสมกับเทคโนโลยีในปัจจุบัน เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ทางด้านการปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ ได้อย่างเหมาะสม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการของปัญญาประดิษฐ์ ปัญหาสเปซสถานะ การ ค้นหาแบบฮิวริสติก การแทนความรู้ การเรียนรู้ของเครื่อง ระบบผู้เชี่ยวชาญ ต้นไม้ การตัดสินใจ การเพิ่มประสิทธิภาพทางธุรกิจ การประยุกต์เครื่องมือปัญญาประดิษฐ์ สำหรับเพิ่มประสิทธิภาพทางธุรกิจที่เหมาะสม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ และ ให้นักศึกษาถามตอบข้อสงสัยได้ตลอดเวลาผ่าน สื่อสังคมออนไลน์ Facebook Messenger หากผู้สอนไม่ได้ตอบกลับโดยทันที จะมีการตอบกลับภายหลังตามความเหมาะสมอีกทั้งนักศึกษาสามารถ นัดเวลาเข้าพบได้ตามความต้องการเฉพาะราย
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม
(5) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม (6) สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กรและสังคม  
ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายใน เวลาที่ก าหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย  
การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของ มหาวิทยาลัย
การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่ มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย  
(1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่ส าคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ ศึกษา (2) สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้ง ประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา
6) มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง (7) มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง  
(1) จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ (2) จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ท ารายงาน โครงงานและ น าเสนอหน้าชั้นเรียน (3) จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อม จริง (4) มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม น าเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อน ร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป (5) ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับ การปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง (6) การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ  
(1) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (ทฤษฎีและปฏิบัติ) (2) รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการน าความรู้ไปตอบใน แบบทดสอบ (3) ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง หรือสถานการณ์จริง (4) ผลงานจากการค้นคว้าและการน าเสนอ (5) ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา (6) ประเมินจากการน าเสนอผลงาน (7) ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงานการ ทดสอบย่อย การน าเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน  
(2) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ (3) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ  
จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ จากกรณีศึกษา (งานที่ได้รับมอบหมาย) กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และก าหนดให้นักศึกษาวางแผน การทำงานเป็นทีม การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น จัดกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ด้านต่างๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา  
- การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่างๆ - การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จ าลอง - ประเมินจากการน าเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา - การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบาย แนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่เรียนมา ซึ่ง จะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาค าตอบเดียวจากกลุ่มค าตอบ ที่ให้มา - ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการน าเสนอหน้าชั้น เรียนและเอกสารรายงาน - ประเมินจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จ าลอง (8) ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา  
(2) สามารถให้ความช่วยเหลือและอ านวยความสะดวกในการแก้ปัญหาสถานการณ์ ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้น า หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมท างาน (3) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้แนะสังคมในประเด็นที่เหมาะสม (4) มีความรับผิดชอบในการกระท าของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม  
(2) จัดให้นักศึกษาได้ท ากิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้น า และผู้ตาม (3) จัดให้นักศึกษาได้ท ากิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและ การอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป  
(1) การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค (2) พฤติกรรมการท ากิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา (3) พฤติกรรมและผลการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา (4) การรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา (5) พฤติกรรม ภาวการณ์เป็นผู้น า และผู้ตามที่ดี (6) สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง  
(1) มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จ าเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการท างานที่เกี่ยวข้องกับ คอมพิวเตอร์ (3) สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน พร้อมทั้งเลือกใช้ รูปแบบของสื่อการน าเสนอได้อย่างเหมาะสม  
(1) สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการ ติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่ เกี่ยวข้อง 139 (2) จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา (4) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์ จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม (5) ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ ในสถานการณ์ต่างๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้ (6) มีการน าเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ  
(1) การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค (2) ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการน าเสนอ ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม (3) พฤติกรรม การน าเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษาการ สื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร (4) ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ (5) ประเมินจากการสรุป และอภิปรายงาน/กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ ตัวเลข ซึ่งได้รับมอบหมายร่วมกัน  
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคล และความรับผิดชอบ 5. ทักษะการ วิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการ ใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา (2) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม (5) เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม (6) สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กรและสังคม (1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่ส าคัญในเนื้อหาสาขาวิชาที่ศึกษา (2) สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์ รวมทั้ง ประยุกต์ความรู้ ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา (6) มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง (7) มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง (2) สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศ เพื่อใช้ในการแก้ไขปัญหาอย่าง สร้างสรรค์ (3) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 2) สามารถให้ความช่วยเหลือและอ านวยความสะดวกในการแก้ปัญหาสถานการณ์ ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้น า หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมท างาน (3) สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้แนะสังคมในประเด็นที่เหมาะสม (4) มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม (1) มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จ าเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการท างานที่เกี่ยวข้องกับ คอมพิวเตอร์ (4) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม
1 BBAIS218 ปัญญาประดิษฐ์สำหรับธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
Artificial Intelligence for Business: What You Need to Know about Machine Learning and Neural Networks 
Artificial Intelligence for Business: What You Need to Know about Machine Learning and Neural Networks 
Artificial Intelligence for Business: What You Need to Know about Machine Learning and Neural Networks