การพัฒนาทักษะชีวิตในสังคมสมัยใหม่

Development of Life and Social Skills in Modern Society

1.มีความเข้าใจเกี่ยวกับการเห็นคุณค่าในตนเอง การบริหารจัดการตนเอง สามารถจัดการปัญหาโดยสันติวิธีและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขและมีประสิทธิภาพ 2.สามารถนำเอาหลักเกณฑ์ เทคนิควิธีไปประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตและประกอบสัมมาอาชีพวิถีใหม่ เพื่อพัฒนาพฤติกรรมและลักษณะนิสัยในการทำงานของนักศึกษาให้สามารถเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี 3.มีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ ตลอดจนมีระเบียบวินัยในชีวิตและสังคมสมัยใหม่ 4.มีเจตคติที่เหมาะสมในการดำรงชีวิตสมัยใหม่ของตนเอง
2.1 เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 2.1 เพื่อให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบันทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ศึกษาเกี่ยวกับสังคม การพัฒนาด้านสังคม ปรัชญา คุณค่าแห่งความเป็นมนุษย์ หลักธรรมในการดำรงชีวิต การพัฒนาความคิด เจตคติ บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมและวัฒนธรรมไทย การมีจิตสำนึกต่อส่วนรวม การบริหารจัดการและพัฒนาตนเองในโลกสมัยใหม่ ศึกษาวิธีการจัดการภาระอารมณ์และสร้างสัมพันธภาพ การทำงานเป็นทีม การสร้างผลิตผลในการทำงาน และจรรยาบรรณวิชาชีพเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข ตามสถาณการณ์การเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมไทยและสังคมโลก
    - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง  (เฉพาะรายที่ต้องการ)         -  แจ้งตารางสอนส่วนตัวให้นักศึกษาทราบวัน เวลาว่างของอาจารย์ผู้สอน          -  แจ้งหมายเลขโทรศัพท์และอีเมลล์ ของอาจารย์ผู้สอน
1.1 มีจิตสานึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน 2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา 3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 2. การส่งรายงานตรงเวลา 3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทางานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กรณีศึกษา 2. บทบาทสมมติ 3. เพื่อนคู่คิด 4. อภิปราย 5. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา 2. การนาเสนอผลงาน 3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 4. การอภิปราย 5. โครงงาน 6. การสอบ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนาความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. กรณีศึกษา 2. บทบาทสมมติ 3. เพื่อนคู่คิด 4. อภิปราย 5. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา
2. การนาเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
6. การสอบ
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา 2. การนาเสนอผลงาน 3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 4. การอภิปราย 5. โครงงาน
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเนื้อหาเพิ่มเติมจาก Website หรือสื่ออื่น ๆ เช่น CD, VCD, วีดิทัศน์ และเทปเสียง 2. การนาเสนอรายงานทุกครั้งให้ใช้ Computer และ Power point และ/หรือ Clip
1. การนาเสนอผลงาน 2. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม 3. การสืบค้นอ้างอิงในงาน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 3.2 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-16 5%
2 2.1, 3.2, 4.1 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2.1, 3.2 การอภิปราย 3-5 10%
4 2.1, 3.2 กรณีศึกษา 1, 2, 5, 10-12 10%
5 2.1, 3.2 สอบกลางภาค 8 25%
6 1.3,2.1 สอบปลายภาค 17 25%
7 1.3, 2.1, 3.2, 4.1, 5.1 โครงงาน/กิจกรรม 1-16 20%
ทรงสิริ วิชิรานนท์,โรจน์รวี พจน์พัฒนพล,สุทธิพร บุญส่ง,สุวิมล จุลวานิช และอนุรีย์ แก้วแววน้อย. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น, 2550.
กาญจน์ หงส์ณี. มารยาทและการสมาคม. กรุงเทพฯ: เจริญรุ่งเรืองการพิมพ์, 2549 ประเสริฐ แย้มกลิ่นฟุ้ง และคณะ. สังคมและวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549. วิภาพร มาพบสุข. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขต เทคนิคกรุงเทพฯ, 2540. สุพัตรา สุภาพ. สังคมและวัฒนธรรมไทย ค่านิยม ครอบครัว ศาสนา ประเพณี. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช จากัด, 2543. อนุรี แก้วแววน้อย และคณะ. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น, 2548. เอกสารเกี่ยวกับจริยศาสตร์, ศาสนาเปรียบเทียบ, จริยธรรมในชีวิต, จริยธรรมกับวิชาชีพ, ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
- วารสารทางวิชาการ - รายการทางสื่อต่างๆ เว็บไซด์ที่เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคมและเว็บไซด์อื่น ๆ ปัทมา ผาดจันทึก. การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม(Online). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. แหล่งที่มา: http://courseware.rmutl.ac.th/courses/44/unit000.htm
 
การประเมินผลรายวิชานี้จัดทำโดยนักศึกษา :       1.1 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินผลผู้สอน และรายวิชานี้ทางเว็บไซด์ของมหาวิทยาลัย       1.2 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในรายวิชานี้ในตอนท้ายของการเรียนการสอนปลายภาคเรียน       1.3 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในกิจกรรมต่างๆที่จัดให้         1.4 นักศึกษาเป็นผู้เสนอแนะกิจกรรมในการเรียนการสอน      1.5 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจต่อโครงการ/กิจกรรเสริม
2.1 สังเกตพฤติกรรมความสนใจต่อการเรียนของนักศึกษา  (การซักถาม การร่วมอภิปราย การแสดงความคิดเห็น) 2.2 จากกิจกรรมกลุ่มย่อยในชั้นเรียน   นอกชั้นเรียน  แบบฝึกหัด  งานมอบหมายในชั่วโมง 2.3 จากการสังเกตความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม   การมีจิตอาสา   ความรับผิดชอบ  ตรงต่อเวลา
3.1  ปรับปรุงเอกสาร ตำราที่ใช้ในการเรียนทุกปีการศึกษาเพื่อแก้ไขเนื้อหาให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ 3.2 ให้นักศึกษานำเสนอสิ่งที่ต้องการให้เพิ่มเติมในวิชานี้ 3.3 นำผลการประเมินที่ได้จากนักศึกษามาปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้น 3.4 ทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อช่วยแก้ปัญหาในเรื่องต่างๆที่มีผลกระทบต่อผู้เรียน
4.1 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งด้านการเรียน การมีวินัย การเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย        4.2 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอื่นๆ ตามที่ได้เรียนไป ได้แก่ การแต่งกาย บุคลิกภาพ การปรับตัว,  พฤติกรรมด้านจริยธรรม ฯลฯ 4.3. คะแนนกิจกรรมและงานมอบหมาย 4.4  การปรับปรุงพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม และวิธีการนำเสนอตามที่ได้รับการแนะนำ 
5.1 มีการปรับปรุงเนื้อหาอย่างสม่ำเสมอ ให้ข้อมูลเป็นปัจจุบันทันเหตุการณ์ 5.2 เชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาให้ความรู้ในเรื่องต่างๆตามที่นักศึกษาสนใจ 5.3 ปรับปรุงกิจกรรมต่างๆให้มีข้อบกพร่องน้อยลงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น 5.4 พัฒนากิจกรรม/โครงการใหม่ๆที่ให้ประโยชน์แก่นักศึกษามาเป็นทางเลือกให้หลากหลายมากขึ้น
5.5 พัฒนาเทคนิคการสอน   สื่อเทคโนโลยีการศึกษา ให้ทันสมัย น่าสนใจ  และนักศึกษาสามารถเรียนรู้ ได้อย่างรวดเร็ว สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน