ปรัชญาอาชีวศึกษาและการประกันคุณภาพ

Philosophy of Vocational Education and Education Quality Assurance

เพื่อที่ต้องการให้ผู้ที่ศึกษาวิชานี้ได้เรียนรู้เกี่ยวกับความหมาย ขอบข่าย และความสำคัญของอาชีวะและเทคนิคศึกษา ปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางการศึกษา ศาสนา เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม ที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา วิวัฒนาการและแนวโน้มของการอาชีวะและเทคนิคศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศ  นโยบายการจัดการศึกษา แนวคิด และกลวิธีการจัดการศึกษา เพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนของชาติและของอาชีวะและเทคนิคศึกษา ประยุกต์ใช้แนวคิดเพื่อพัฒนาสถานศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและการจัดการเรียนการสอนในอาชีวศึกษา 
เพื่อให้นักศึกษาได้มีองค์ความรู้ทางด้านหลักการอาชีวะและเทคนิคศึกษา สามารถที่จะนำไปประยุกต์ใช้ได้จริงเมื่อทำการศึกษาครบตามเนื้อหาสาระที่ได้ดำเนินการปรับปรุงให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้นและสนับสนุนการส่งเสริมศิลปะวัฒนธรรรมและสิ่งแวดล้อม
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับวิวัฒนาการ ความเป็นมาของอาชีวศึกษา รูปแบบของวิทยาลัยอาชีวศึกษาประเภทต่างๆ ในประเทศไทย ที่เน้นการจัดการศึกษาทำงานที่ชำนาญและคิดวิเคราะห์เชิงระบบตามปรัชญาอาชีวศึกษา การเปลี่ยนแปลงบริบทของโลกและสังคม  ที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาด้านอาชีวศึกษา การวางแผนและดำเนินการประกันคุณภาพทางการศึกษาภายในและภายนอก กระบวนการดำเนินกิจกรรมประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและการนำผลการประกันคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา
-    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาโดยการติดป้ายประกาศ  -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา  มีความซื่อสัตย์ มีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้  1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต  1.1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม 1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ  1.1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม  1.1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม  1.1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
สอดแทรกตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงภาระ ความรับผิดชอบของอาชีพครู และผลกระทบที่เกิดขึ้นหากครูไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการเคารพระเบียบข้อบังคับ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่น การเข้าเรียนตรงต่อเวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์สื่อสาร เป็นต้น ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความซื่อสัตย์ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่น การลอกการบ้าน การลอกกันระหว่างการทดสอบย่อย เป็นต้น กำหนดบทลงโทษและชี้ให้เห็นถึงผลของพฤติกรรมดังกล่าวที่จะส่งผลกระทบต่อสังคมในอนาคต
1.3.1    พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา  1.3.2    สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการทดลองใช้วิธีการสอนในข้อข้างต้นว่าเป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณ์ให้เหมาะสมมากขึ้น
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
ความรู้ที่จะได้รับครอบคลุมตามวัตถุประสงค์รายวิชา ประกอบไปด้วย ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีและศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ขอบข่าย และความสำคัญของอาชีวะและเทคนิคศึกษา ปรัชญา แนวคิดและทฤษฎีทางการศึกษา ศาสนา เศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรม ที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษา วิวัฒนาการและแนวโน้มของการอาชีวะและเทคนิคศึกษาในประเทศไทยและต่างประเทศ  นโยบายการจัดการศึกษา แนวคิด และกลวิธีการจัดการศึกษา เพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืนของชาติและของอาชีวะและเทคนิคศึกษา ประยุกต์ใช้แนวคิดเพื่อพัฒนาสถานศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและการจัดการเรียนการสอนในอาชีวศึกษา
2.2 วิธีการสอน
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุปและนำเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา  และโครงงาน Problem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 
2.3 วิธีการประเมินผล
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค  2.3.2   ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย  2.3.3   พิจารณาจากกิจนิสัย ความตั้งใจและการเข้าร่วมกิจกรรม ชีวะและเทคนิคศึกษา ประยุกต์ใช้แนวคิดเพื่อพัฒนาสถานศึกษาวิเคราะห์เกี่ยวกับการศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนและการจัดการเรียนการสอนในอาชีวศึกษา 
3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนา
สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือองค์ความรู้ต่อยอดจากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์ 
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน  3.2.2   อภิปรายกลุ่ม  3.2.3   วิเคราะห์กรณีศึกษา   3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ 
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้  3.3.2   วัดผลจากการประเมินผลงานที่มอบหมาย  3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา 
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน  4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม  4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา 
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา  4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าเกี่ยวกับระบบการศึกษาของประเทศไทยและต่างประเทศ  การทำกิจกรรมการคิดอย่างเป็นระบบ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา  4.2.3   การนำเสนอรายงาน 
4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ   4.3.2   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง    
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข  5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน  5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา  5.1.4   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต  5.1.5   ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room  5.1.6   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ  5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี  5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย 
1   สอนสาธิต  
1   สอบปฏิบัติ 2   วัดผลจากการประเมิน.ใบงาน / ผลงานที่มอบหมาย  3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา 
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรม จริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การเอาใจใส่ตั้งใจเรียนในห้องเรียน ตลอดภาคเรียน 10 %
2 2. ทักษะทางปัญญา คะแนนงานบุคคล ตลอดภาคเรียน 10 %
3 3. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ คะแนนงานกลุ่ม ตลอดภาคเรียน 10 %
4 4. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คะแนนงานกลุ่ม (การนำเสนอหน้าชั้นเรียน) 14 10 %
5 ความรู้ การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค 8 และ 17 40 %
6 ทักษพิสัย ใยงาน ตลอดหลักสูตร 20 %
จันทิรา แก้วสูง. กรณีศึกษาความร่วมมือของสถานศึกษากับสถานประกอบการในการจัด การศึกษาระบบทิวภาคีของวิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรม  มหาบัณฑิต ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ, 2542.   เฉลียว บุรีภักดี. รูปแบบการพัฒนาครูช่างอุตสาหกรรมของประเทศไทย. รายงานการวิจัยและพัฒนาตามโครงการเงินกู้ธนาคารโลกเพื่อพัฒนาการศึกษาระยะที่ 6 (คพศ. 6) กรุงเทพฯ :  เทคโนโลยีและอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ, 2531.   ชนะ กสิภาร์. “นวัตกรรมการอาชีวศึกษาและฝึกอบรมอาชีพเข้าสู่คุณวุฒิวิชาชีพ (ThaiVocational  Qualifications – TVQs).” วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา. ปีที่ 14 ฉบับที่ 41,มกราคม - มีนาคม 2545,  หน้า 3 – 20.   ชนะ กสิภาร์. (2530).  หลักสูตรกับครูอาชีวะและเทคนิคศึกษาในอนาคต. ในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ  เพื่อวิเคราะห์และปรับปรุงหลักสูตร สาขาวิชาช่างกลเกษตร วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา.              สิริลักษณ์ หาญวัฒนานุกุล. “จากชีวิตการเรียนสู่ชีวิตการทำงาน.” วารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา. ปีที่ 13 ฉบับ  ที่ 37 มกราคม – มีนาคม 2544, หน้า 3 – 9.   พิเชษฐ ศรีพนม. การศึกษาปัญหาของผู้เรียนในระบบทวิภาคีของสถานศึกษาสังกัดกรมอาชีวศึกษา.  วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์อุตสาหกรรมมหาบัณฑิต ภาควิชาครุศาสตร์เครื่องกลบัณฑิตวิทยาลัย สถาบัน  เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2542.   บรรเลง ศรนิล และคณะ.รายงานการวิจัยเส้นทางการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและเทคโนโลยี.กรุงเทพฯ : ห้าง  หุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ, 2548.   สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. รายงานผลการศึกษาความต้องการกำลังคนของกลุ่ม-อุตสาหกรรม.  กรุงเทพฯ : บริษัท พริกหวานกราฟฟิค จำกัด, 2549.   อาชีวศึกษา, กรม. รายงานประจำปี 2543 – 2544 ครบรอบ 60 ปี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา-ลาดพร้าว,  2544.   ธีรวุฒิ บุณยโสภณ. (2536).  การบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษาเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ :                  สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.   บรรเลง ศรนิล และคนอื่น ๆ . (2548). รายงานการวิจัยเส้นทางการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและเทคโนโลยี.                  กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.   ปรัชญา เวสารัชช์, ศาสตราจารย์ ดร. มปป. ชุดฝึกอบรมผู้บริหาร : ประมวลสาระแนวคิดด้านการบริหาร                  จัดการอาชีวศึกษา. สังเคราะห์โดย นายอำนวย เถาตระกูล.   ภาวิดา ธาราศรีสุทธิ และวิบูลย์ โตวณะบุตร. (2542). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา. กรุงเทพฯ :                  มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วรภาส ประสมสุข และนิพนธ์ กินาวงศ์.  (2550).  หลักการบริหารการศึกษาตามแนวพุทธธรรม.                   วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 เดือนพฤศจิกายน 2549-มีนาคม 2550, 63 – 83.   ศิริพงษ์ เศาภายน. (2548). หลักการบริหารการศึกษา : ทฤษฎีและแนวปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :                  บุ๊คพอยท์. กระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา.  (2549).  มาตรฐานการอาชีวศึกษา. พิมพ์ครั้ง                  ที่ 1. กรุงเทพฯ :  วิทยาลัยสารพัดช่างพระนคร   สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.  (2548).  อาชีวศึกษาพัฒนาชาติ : บทเรียนจากสหพันธ์สาธารณรัฐ                  เยอรมนี.  กรุงเทพฯ : สำนักนโยบายและแผนการศึกษา.   ชัยวัฒน์ ถิระพันธ์.  (2552).  การคิดอย่างเป็นระบบ. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : ภาพพิมพ์.                  สำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา.   สุธีระ ประเสริฐสรรพ์. (2554).  การคิดอย่างเป็นระบบ.  ประชุมปฏิบัติการครู สพท. เขต                  3 สงขลา. สิงหาคม 2554. [เอกสารบรรยาย]   อนงค์ วิเศษสุวรรณ์, ดร. (2549).  การคิด.  วารสารศึกษาศาสตร์ ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 เดือน                  มิถุนายน 2549-ตุลาคม 2549, 17.   ชนะ กสิภาร์. “คุณวุฒิวิชาชีพไทย (Thai Qualifications - TVQ).” ในเอกสารสรุปการสัมมนา  วิชาการ เรื่อง Qualifications and Skills จัดโดยนักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิจัยและพัฒนา  หลักสูตร คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า พระนครเหนือ  ระหว่างวันที่10 – 12 กุมภาพันธ์ 2547 หน้า 1.   ธีรวุฒิ บุณยโสภณ. การบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษาเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ :  สำนักพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2536.   บรรเลง ศรนิล และคณะ.รายงานการวิจัยเส้นทางการศึกษาด้านอาชีวศึกษาและเทคโนโลยี.  กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ, 2548.   พิมพ์พันธ์ เตชะคุปต์. พัฒนาการด้านการศึกษาไทยในสมัยรัชกาลที่ 9. กรุงเทพมหานคร, 2540.   สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ. “ ความร่วมมือจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา สาขา  ช่างอุตสาหกรรม ระหว่างกรมอาชีวศึกษากับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ  จัดโดยนักศึกษาปริญญาโท สาขาบริหารอาชีวะและเทคนิคศึกษา คณะครุศาสตร์-  อุตสาหกรรม.” ในเอกสารประกอบการสัมมนา ในวันที่ 4 – 5 ตุลาคม 2544 หน้า 5 – 6.         ข้อมูลจากเว็บไซต์  http://www. onec.go.th/publication/48049/sara_48049.htm  http://www. onec.go.th/publication/49047/full49047.pdf       http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=558.0       http://www.kruinter.com/show.php?id_quiz=438&p=1  http://www.pbntc.ac.th/depart/vec.htm  http://www.thaiblogonline.com/sodpichai.blog?PostID=26443  http://www.twp.co.th/index.php/news/2009-05-04-05-55-13/202--25--2553  http://www.advisor.anamai.moph.go.th/think/theory.htm  http://www.acmerril.com/archives/74  http://www.bizexcenter.com  http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=pasawutt&month=08-09-2008&group=6&gblog=4  http://www.facebook.com/note.php?note_id=485286641735  http://www.gypzii.multiply.com/journal/item/27/27  http://www.gotoknow.org/blog/boonmo/114839  http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2005q3/article2005aug01p4.htm  http://www.oknation.net/blog/print.php?id=365536  http://www.sasdkmitl08.blogspot.com/2008/07/system-thinking.html  http://www.vcharkarn.com/vcafe/192336  http://www.geocities.com/Voed45/Ved_plan_1-5.pdf.  http://www.nsdv.go.th/industrial/competence/download/profchana.pdf. http://www.km8.excise.go.th/kmpak82/index.php?option=com_content&view=article&id=78:2011-02-                     16-09-22-07&catid=65:2011-02-16-06-47-48&Itemid=87  http://www.King60.mbu.ac.th/index.php?option=com_content&task=view&id=77&  Itemid=54&limit 1&limit start=14  Atkin, Julia, Dr. (1992).  Thinking: Critical for Learning. James Cook University of North Queensland                  Townsville Australia : Paper presented at the 5th International Conference on Thinking                  Exploring Human Potential. July 6-10, 1992.  Keesler, Venessa. (2006).  Critical Thinking Test in Sociology Complete Test Answer Key Item                   Development Manual.  Michigan State University : Doctoral Student, Measurement and                   Quantitative. 
กระทรวงศึกษาธิการ. (2546). คู่มือการบริหารสถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพฯ : องค์การค้ารับส่งสินค้า
        และพัสดุภัณฑ์ (ร.ส.พ.).
วิจิตร ศรีสอ้าน. (2548). “การประกันคุณภาพการศึกษาที่มีคุณภาพ”. วารสารการประกันคุณภาพการศึกษา,
        2(2), 1-4.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2549). แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ :
        กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา. (2548). ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาตาม
        เจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : สำนักงานรับรองมาตรฐาน
        และประเมินคุณภาพการศึกษา.
จำรัส ทองมาก. (2544). ปฏิบัติการประกันคุณภาพการศึกษา. กรงเทพฯ : ซันพริ้นติ้ง.
เริงชัย จงพิพัฒนสุข. (2546). การประเมินและการประกันคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2544). แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
        เพื่อพร้อมรับการประเมินภายนอก. กรุงเทพฯ : สกายบุ๊กส์.
สำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพภายนอก. (2553). คู่มือการประเมินภายนอกรอบ 3. กรุงเทพฯ :
        สำนักงานรับรองมาตรฐานละประเมินคุณภาพภายนอก.
กรมวิชาการ. (2550). การประกันคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
วารินทร์ สินสูงสุด. (2552). การประกันคุณภาพการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : สถาบันเพิ่มผลผลิต
        บัณฑิตธรรม.
วัลลภ กันทรัพย์. (2551). แนวคิดในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
สำนักงานคณะกรรมการศึกษาชั้นพื้นฐาน. (2551). การประกันคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา
        ลาดพร้าว.
สำนักนโยบายและแผนการศึกษา. (2553). การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์
        มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
คู่มือการบริหารและการปฏิบัติงาน ตามกรอบภารกิจ อำนาจหน้าที่และความรับผิดชอบ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา  กระทรวงศึกษาธิการ  ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานอาชีวศึกษา พ.ศ. 2549  แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอาชีวศึกษา  (พ.ศ. 2552 - 2561)  พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551  พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542  พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545  พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ  พ.ศ. 2546  ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา พ.ศ. 2552  ยุทธศาสตร์กระทรวงศึกษาธิการด้านการอาชีวศึกษา  พ.ศ. 2555
พัฒนชัย กุลสิริสวัสดิ์. ม.ป.ป. เครื่องมือการบริหารจัดการสมัยใหม่. กรรมการผู้จัดการ -กลุ่มบริษัท                   ชัยบูรณ์บราเดอร์ส. [เอกสารอัดสำเนา]  วรกร สุพร. (2553). คู่มือการจัดการความรู้เรื่อง การสื่อสารภายในองค์กร. คณะอุตสาหกรรมเกษตร                   มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. [เอกสารอัดสำเนา]  http://www.advisor.anamai.moph.go.th/think/objective.htm  http://www.conwood.co.th/th/about-us-core-value.asp  http://www.dou.us/  http://www.hrmeservice.com/th/page/1023  http://www.idis.ru.ac.th/report/index.php?topic=201.0  http://www.kmlite.wordpress.com/2009/09/18/km-corner/  http://www.michelin.co.th/tha/Home/About-Michelin/Michelin-Group/Culture-and-Values  http://www.natthanont.com/archives/432  http://www.nics.ac.th/index.php/education-new/226-2011-04-21-01-30-19  http://www.novabizz.com/NovaAce/Intelligence/Thinking_Method.htm  http://www.onec.go.th/onec_main/main.php  http://www.peoplevalue.co.th/index.php?lay=show&ac=article&Id=539104024&Ntype=7  http://www.peoplevalue.co.th/index.php?lay=show&ac=article&Id=539104573&Ntype=7  http://www.peoplevalue.co.th/index.php?lay=show&ac=article&Id=539146349&Ntype=19  http://www.peoplevalue.co.th/index.php?lay=show&ac=article&Id=539104371&Ntype=28  http://www.peoplevalue.co.th/index.php?lay=show&ac=article&Id=539104361&Ntype=28  http://www.school.obec.go.th/krabipolicy/nanasara06.htm  http://www.siamsafety.com/index.php?page=moral/moral_korkid_09052009  http://www.siamsafety.com/index.php?page=moral/korkid_23112009&ps_session=27ed2c53975a33e71629d4094c0ab915  http://www.swhappinessss.blogspot.com/2010/11/blog-post_26.html  http://www.synaptic.co.th/developing_high_performance_teams_th.html  http://www.snc.lib.su.ac.th/snclibblog/?p=10890  http://www.thaitrainingcenter.net/redirect.php?tid=269&goto=lastpost  http://www.th.jobsdb.com/TH/EN/Resources/JobSeekerArticle/general_editor41.htm?ID=683  http://www.th.jobsdb.com/TH/EN/Resources/JobSeekerArticle/js-oct10-4.htm?ID=2002  http://www.tpqi.go.th/  http://www.trinity-consultant.com/home/des_article.php?id=4  http://www.variety.teenee.com/foodforbrain/5662.html  http://www.vec.go.th/
หมวดที่ 7
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้  1. การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน  2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา  3. ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา  
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน  2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา  2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้  3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ