ศิลปะการใช้ชีวิต

Art of Living

1. เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนมีจริยธรรม รู้จักและเข้าใจตนเอง มีวินัย กล้าแสดงออก มีจิตสาธารณะ และสามารถทํางานเป็นหมู่คณะ เติบโตเป็นคนดี รักความถูกตนองและความเป็นธรรม เพื่อเป็นภูมิคุ้มกันต่อ   ปัญหาการทุจริตคอรัปชั่นและรังเกียจพฤติกรรมการทุจริตคอรัปชั่น
2. เพื่อเสริมสร้างให้ผู้เรียนมีทักษะทางปัญญา มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ใฝ่รู้ แสวงหาความรูอย่างต่อเนื่อง โดยเป็นไปตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และมีทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 สามารถรู้ทันโลกและสามารถนําความรู้ไปใช้ในการดําเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข
4. เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียน มีทักษะการทํางาน (Skill) ความรู้ (Knowledge) ทักษะทางสังคม (Social skill) และ คุณธรรม และจริยธรรม (Ethics) รวมทั้งมารยาทในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น
2.1 เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
2.1 เพื่อให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบันทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ศึกษาเกี่ยวกับการบูรณาการศาสตร์เพื่อเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและสังคมโลก มีจริยธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคม การต่อต้านทุจริตและคอรัปชั่น ทักษะการคิดเชิงระบบ รู้เท่าทันเทคโนโลยี การใช้ชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นบัณฑิตนักปฏิบัติที่พึงประสงค์ สามารถเรียนรู้และวางแผนชีวิตที่เหมาะสมในสังคมแห่งการเรียนรู้
         - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง  (เฉพาะรายที่ต้องการ)
        -  แจ้งตารางสอนส่วนตัวให้นักศึกษาทราบวัน เวลาว่างของอาจารย์ผู้สอน
         -  แจ้งหมายเลขโทรศัพท์และอีเมลล์ ของอาจารย์ผู้สอน
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral)
   1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
    1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
   1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
   1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
    2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
    2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
    2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กรณีศึกษา
2. บทบาทสมมติ
3. ระดมสมอง
4. อภิปราย
5. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
 
 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
 
1. กรณีศึกษา
2. บทบาทสมมติ
3. ระดมสมอง
4. อภิปราย
5. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
1. บทบาทสมมติ
2. อภิปราย
3. กรณีศึกษา
1. กรณีศึกษา
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBIN703 ศิลปะการใช้ชีวิต
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 หน่วยที่ 1-6 กิจกรรมในชั้นเรียน ระดมสมอง การอภิปรายกลุ่ม อภิปรายกรณีศึกษา เก็บคะแนนรายหน่วย 1-17 72
2 ความรู้ ทักษะทางปัญญา การทำงานเป็นทีม คุณธรรมจริยธรรม 1.กิจกรรมกลุ่ม ระดมสมองและอภิปรายแนวคิดการเติบโต 2.กิจกรรมบรรยายพิเศษจากนายแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ และอภิปรายกลุ่มหัวข้อ Growth Mindset และทักษะการจัดการอารมณ์และการแก้ปัญหา 13 และ 17 18
3 การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน สังเกต การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน และการติดตามงานมอบหมาย 1-17 10
               -วารสารทางวิชาการ
              - เว็บไซด์อื่นๆ
              - รายการทางสื่อต่างๆ
การประเมินผลรายวิชานี้จัดทำโดยนักศึกษา :
      1.1 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินผลผู้สอน และรายวิชานี้ทางเว็บไซด์ของมหาวิทยาลัย
      1.2 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในรายวิชานี้ในตอนท้ายของการเรียนการสอนปลายภาคเรียน
      1.3 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจในกิจกรรมต่างๆที่จัดให้  
      1.4 นักศึกษาเป็นผู้เสนอแนะกิจกรรมในการเรียนการสอน
     1.5 นักศึกษาเป็นผู้ประเมินความพึงพอใจต่อโครงการ/กิจกรรเสริม
      2.1 สังเกตพฤติกรรมความสนใจต่อการเรียนของนักศึกษา  (การซักถาม การร่วมอภิปราย การแสดงความคิดเห็น)
      2.2 จากกิจกรรมกลุ่มย่อยในชั้นเรียน   นอกชั้นเรียน  แบบฝึกหัด  งานมอบหมายในชั่วโมง
      2.3 จากการสังเกตความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรม   การมีจิตอาสา   ความรับผิดชอบ  ตรงต่อเวลา
      3.1  ปรับปรุงเอกสาร ตำราที่ใช้ในการเรียนทุกปีการศึกษาเพื่อแก้ไขเนื้อหาให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ
      3.2 ให้นักศึกษานำเสนอสิ่งที่ต้องการให้เพิ่มเติมในวิชานี้
      3.3 นำผลการประเมินที่ได้จากนักศึกษามาปรับปรุงพัฒนาให้ดีขึ้น
      3.4 ทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อช่วยแก้ปัญหาในเรื่องต่างๆที่มีผลกระทบต่อผู้เรียน
     4.1 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทั้งด้านการเรียน การมีวินัย การเข้าเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบในงานที่มอบหมาย       
      4.2 สังเกตการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านอื่นๆ ตามที่ได้เรียนไป ได้แก่ การแต่งกาย บุคลิกภาพ การปรับตัว,  พฤติกรรมด้านจริยธรรม ฯลฯ
      4.3. คะแนนกิจกรรมและงานมอบหมาย
      4.4  การปรับปรุงพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม และวิธีการนำเสนอตามที่ได้รับการแนะนำ 
5.1 มีการปรับปรุงเนื้อหาอย่างสม่ำเสมอ ให้ข้อมูลเป็นปัจจุบันทันเหตุการณ์
      5.2 เชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านมาให้ความรู้ในเรื่องต่างๆตามที่นักศึกษาสนใจ
      5.3 ปรับปรุงกิจกรรมต่างๆให้มีข้อบกพร่องน้อยลงและมีประสิทธิภาพมากขึ้น
      5.4 พัฒนากิจกรรม/โครงการใหม่ๆที่ให้ประโยชน์แก่นักศึกษามาเป็นทางเลือกให้หลากหลายมากขึ้น
      5.5 พัฒนาเทคนิคการสอน   สื่อเทคโนโลยีการศึกษา ให้ทันสมัย น่าสนใจ  และนักศึกษาสามารถเรียนรู้ ได้อย่างรวดเร็ว สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงในชีวิตประจำวัน
      5.6 นำเสนอรายการทางโทรทัศน์ที่น่าสนใจ  สอดคล้องกับวิชาศิลปะการใช้ชีวิต