ทักษะวิชาชีพประมง 3

Practical Skills in Fisheries 3

                   1. สามารถปฏิบัติเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำได้
                2. มีทักษะในการใช้เครื่องมือต่างๆในห้องปฏิบัติการทางประมง
                3. มีทักษะในการตรวจวัดและวิเคราะห์คุณภาพน้ำ
                   4. สามารถจัดการ และแก้ไขปัญหาคุณภาพน้ำในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน และมีทักษะในการเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ การใช้เครื่องมือต่างๆในห้องปฏิบัติการทางประมง การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ และการจัดการคุณภาพน้ำในบ่อที่ใช้เลี้ยงสัตว์น้ำ เพื่อให้นักศึกษาสามารถนำทักษะที่ได้จากการฝึกปฏิบัติจริงไปใช้ในการเรียนวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ในการสอนควรมีการแนะนำเทคนิค และวิธีการสมัยใหม่ที่ใช้ในการวิเคราะห์ และการจัดการคุณภาพน้ำในบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำมาใช้ในการสอน
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการใช้เครื่องมือต่างๆ ในห้องปฏิบัติการทางประมง การวิเคราะห์คุณภาพน้ำ
 -   จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.1.1  มีจิตสำนึกและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรมสาธารณะ
             1.1.2  มีจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือวิชาชีพ
              1.1.3  มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
             1.1.4  เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
ข้อ 1.1.2, 1.1.3 และ 1.1.4  เป็นความรับผิดชอบหลัก
ข้อ  1.1.1 เป็นความรับผิดชอบรอง
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา
1.2.2 กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา   การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
1.2.3 นักศึกษาต้องช่วยกันทำงานที่ได้รับมอบหมายให้เสร็จไม่เอาเปรียบเพื่อน
1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2 ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมาย
1.3.3 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงานอย่างถูกต้องและเหมาะสม
1.3.4 ไม่มีการทุจริตในการทดสอบ
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎี และหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ที่ศึกษา
2.1.2  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในสาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 2.1.1 และ 2.1.3 เป็นความรับผิดชอบหลัก
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมาสรุป และนำเสนอ
2.3.1 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.2 ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ข้อ 3.1.1 และ 3.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
3.2.1 การมอบหมายให้นักศึกษาทำรายงาน กรณีศึกษาทางด้านการจัดการทางด้านคุณภาพน้ำในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ
3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม
3.2.3 มีการชี้ประเด็นและยกตัวอย่างประกอบในแต่ละหัวข้อ
3.3.1 ทดสอบจากการปฏิบัติจริงโดยเน้นทักษะการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
3.3.2 การทำรายงานและการนำเสนอผลงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
 4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
ข้อ  4.1.2, 4.1.3 และ 4.1.4 เป็นความรับผิดชอบหลัก
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่ม และรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.2 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง  
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ข้อ  5.1.1 และ 5.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
5.2.1 มีการอธิบายเชิงทฤษฎีแล้วแสดงวิธีคำนวณการเตรียมสารเคมี และการวิเคราะห์คุณภาพน้ำ
5.2.2 มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์และเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการสืบค้น
5.2.3 การนำเสนอโดยใช้สื่อ PowerPoint
5.3.1 ประเมินจากเทคนิค และวิธีการเตรียมสารเคมี และการวิเคราะห์คุณภาพน้ำที่ถูกต้อง
5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย การอภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนำเสนอต่อชั้นเรียน
                6.1.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ได้อย่างเหมาะสม
              6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานได้อย่างปลอดภัย และมีประสิทธิภาพ
ข้อ 6.1.2 เป็นความรับผิดชอบหลัก
6.2.1 กำหนดให้นักศึกษาฝึกทักษะการใช้เครื่องมือพื้นฐานและอุปกรณ์ต่างๆ อย่างถูกต้องและเหมาะสม
6.2.2 ประเมินการปฏิบัติการใช้เครื่องมือ และอุปกรณ์จริงในห้องปฏิบัติการ และการเก็บตัวอย่างภาคสนาม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 BSCAG313 ทักษะวิชาชีพประมง 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2 และ1.1.3 -การเข้าเรียนตรงเวลา -การมีวินัยและมีความพร้อมเพียงในการร่วม -กิจกรรมเสริมหลักสูตร -ความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและการแสดงออกต่อ ตลอดภาคการศึกษา 10
2 2.1.1, 2.1.2 และ 2.1.3 -ทดสอบความเข้าใจโดยจะมีการสอบย่อย -ประเมินจากการร่วมอภิปรายในชั้นเรียน การตอบคำถาม และรายงานที่นำส่ง ตลอดภาคการศึกษา 60
3 3.1.1, 3.1.2, 4.1.1, 4.1.2, 5.1.1, 5.1.2 และ 5.1.3 -ความสามารถทำงานร่วมกันของนักศึกษาในการสืบค้นกรณีศึกษาและการมีส่วนร่วมในการอภิปรายโดยอยู่บนฐานความรู้ของรายวิชาได้อย่างเป็นระบบ ตลอดภาคการศึกษา 20
4 6.1.1 และ 6.1.2 การมีความกระตือรือร้นในการลงมือปฏิบัติการ และความเข้าใจในการเครื่องมือ และอุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม และคำนึงถึงความปลอดภัยระหว่างการทำงาน ตลอดภาคการศึกษา 10
1. ประเทือง เชาว์วันกลาง. 2534 คุณภาพน้ำทางการประมง. สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์. กรุงเทพฯ.
2. อรทัย ชวาลภาฤทธิ์. 2545. คู่มือการวิเคราะห์น้ำและน้ำเสีย. กรุงเทพฯ.
ไม่มี
1. เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น เว็บไซต์กรมประมง
2. เอกสารรายงานวิจัยของกรมประมง
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4