กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อทำงานวิจัยและการสร้างนวัตกรรม

Scientific Methods for Research and Innovation

เมื่อศึกษาตามกระบวนการเรียนรู้ของรายวิชานี้อย่างครบถ้วนแล้ว ผู้เรียนจะเกิดความรู้ทักษะ และทัศนะคติ ในด้านต่างๆ ดังนี้
1.1 เพื่อปลูกฝงใหผูเรียนมีทักษะทางด้านการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์และสรุปผล โดยใช้กระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์
1.2 เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับผูเรียนในการนำทักษะดังที่ได้กล่าวไว้ในข้อที่ 1 ไปประยุกต์ใช้ในงานวิจัยหรือสร้างสรรค์นวัตกรรม
2.1 เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
2.1 เพื่อให้มีความทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคปัจจุบันทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
ศึกษาและพัฒนาทักษะทางด้านการเก็บรวบรวมความรู้ วิเคราะห์และสรุปผล โดยใช้กระบวนการทางด้านวิทยาศาสตร์ เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับผู้เรียนในการนำทักษะไปประยุกต์ใช้ในการวิจัยหรือสร้างสรรค์นวัตกรรม
         - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง
           (เฉพาะรายที่ต้องการ)
        -  แจ้งตารางสอนส่วนตัวให้นักศึกษาทราบวัน เวลาว่างของอาจารย์ผู้สอน
 -  แจ้งหมายเลขโทรศัพท์ส่วนตัวและอีเมลล์ ของอาจารย์ผู้สอน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
     1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
     1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
     1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
     2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
     2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. บรรยายหัวข้อที่เกี่ยวข้องผ่าน ppt โดยยกตัวอย่างงานวิจัยและนวัตกรรม
2. อธิบายมุ่งเน้นในเรื่องของการสืบค้น และวิเคราะห์ข้อมูล
3. อภิปรายร่วมกันโดยอาศัยตัวอย่างงานวิจัยหรือนวัตกรรมที่สนใจ เพื่อนำไปสู่งานวิจัยและการสร้างนวัตกรรมของตนเอง
1. ตัวอย่างงานวิจัยและนวัตกรรม
2. การนำเสนองาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
6. การสอบ
3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
     3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. วิเคราะห์การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในตัวอย่างงานวิจัยและการสร้างนวัตกรรม
2. อภิปรายร่วมกันเพื่อนำไปสู่งานวิจัยและการสร้างนวัตกรรมของตนเอง
1. ตัวอย่างงานวิจัยและนวัตกรรม
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
6. การสอบ
4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
    4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
    4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
1. การนำเสนอผลงาน
2. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
3. การอภิปราย
4. โครงงาน
    5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
    5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
    5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. วิเคราะห์ข้อมูลโดยอาศัยการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
2. เรียนรู้โดยใช้ทีมเป็นฐาน
 
1. ตัวอย่างงานวิจัยและนวัตกรรม
2. การนำเสนอผลงาน
3. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
4. การอภิปราย
5. โครงงาน
6. การสอบ
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBSC303 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์เพื่อทำงานวิจัยและการสร้างนวัตกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล