เวบไซต์และอินเตอร์เฟซ

Website and Interface

1.1 เพื่อให้นักศึกษามีความซื่อสัต ย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 
1.2 เพื่อให้นักศึกษามีความรอบรู้ในศาสตร์ทางการออกแบบเว็บไซต์และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
1.3 เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านเว็บไซต์ อย่างเป็นระบบ
1.4 นักศึกษาสามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
1.5 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
1.6 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม สำหรับงานเว็บไซต์
ในรายวิชา BAACD119 เวบไซต์และอินเตอร์เฟซ ได้ปรับปรุงเพิ่มเนื้อหาการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการวางแนวคิดและโครงสร้างเว็บไซต์โดยใช้กระบวนการทางการออกแบบและวิจัย (Design Methods)
ศึกษาเกี่ยวกับความหมายและระบบอินเตอร์เนต เวิลด์ไวด์เวบ เวบเบราเซอร์ เวบเซิฟเวอร์ ประเภทของเวบไซต์ โครงสร้างเวบไซต์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบเวบไซต์ หลักการออกแบบเวบไซต์ที่สัมพันธ์กับจิตวิทยาการรับรู้ของมนุษย์
2 ชั่วโมง/สัปดาห์
™ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม   มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น   มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ
ü บรรยาย 1(1) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ) 1(1) ü มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน) 1(1) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) 1(1)   นำเสนอข้อมูล     สาธิต/ดูงาน     ฝึกปฏิบัติ     ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม  
ü ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 1(1) ü ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด 1(1) ü ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 1(1) ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน) 1(1) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน) 1(1)   ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ)     ประเมินจากการสอบข้อเขียน     ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)  
˜ 1) รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง ™ 2) มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ   3) มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ˜ 4) มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
ü บรรยาย 2(1), 2(4) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ) 2(1), 2(4) ü มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน) 2(1), 2(4) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) 2(2)   นำเสนอข้อมูล     สาธิต/ดูงาน     ฝึกปฏิบัติ     ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม  
  ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน     ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด     ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง   ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน) 2(1), 2(2),2(4) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน) 2(1), 2(4)   ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ)   ü ประเมินจากการสอบข้อเขียน 2(1), 2(4)   ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)  
˜ สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ   สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์   สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้   มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
ü บรรยาย 3(1) ü มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ) 3(1) , 3(2) ü มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน) 3(1) - 3(3) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) 3(1) - 3(3)   นำเสนอข้อมูล     สาธิต/ดูงาน     ฝึกปฏิบัติ     ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม  
  ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน     ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด     ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง   ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน) 3(1) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน) 3(1)   ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ)   ü ประเมินจากการสอบข้อเขียน 3(1)   ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)  
  มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี ˜ มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ   สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความ คิดเห็นที่แตกต่าง
  บรรยาย     มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ)   ü มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน) 4(2) ü มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน) 4(2)   นำเสนอข้อมูล     สาธิต/ดูงาน     ฝึกปฏิบัติ   ü ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม 4(2)
ü ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน 4(2)   ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด     ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง   ü ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน) 4(2) ü ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน) 4(2)   ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ)     ประเมินจากการสอบข้อเขียน     ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)  
  สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้ วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ   สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ™ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม สำหรับงานศิลปกรรม
  บรรยาย     มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ)     มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)     มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)   ü นำเสนอข้อมูล 5(3)   สาธิต/ดูงาน     ฝึกปฏิบัติ     ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม  
  ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน     ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด     ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง     ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)     ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)   ü ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ) 5(3)   ประเมินจากการสอบข้อเขียน     ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)  
  6.1 มีทักษะในการทําตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนํา   6.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง   6.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
  บรรยาย     มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ)     มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)     มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)     นำเสนอข้อมูล     สาธิต/ดูงาน     ฝึกปฏิบัติ     ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม  
  ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน     ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด     ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง     ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)     ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)     ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ)     ประเมินจากการสอบข้อเขียน     ประเมินจากการสอบปฏิบัติ     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)     ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จริง (โดยผู้สอน/กลุ่ม)  
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย 1.ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2.ด้านความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 3.2 สามารถวิเคราะห์สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 3.4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 4.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 4.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความ คิดเห็นที่แตกต่าง 5.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้ วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนาเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ ผลงานหรือการนาเสนอผล งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม สำหรับงานศิลปกรรม 6.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 6.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 1.3 มีจิตอาสา จิตสานึกสาธารณะ 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ 2.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
1 BAACD119 เวบไซต์และอินเตอร์เฟซ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม - ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน - ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด - ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง - ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน) 1-16 10
2 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ - ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด - ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง - ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน - ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน) - ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน) 1-16 40
3 5.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสม สำหรับงานศิลปกรรม ประเมินจากการนำเสนอ (วาจาและสื่อ) 1-16 10
4 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ การสอบข้อเขียน (สอบเก็บคะแนน สอบกลางภาค สอบปลายภาค) 9, 17 40
 
1. Jason Beaird, The Principles of Beautiful Web design Second Edition: Site point Publishing Co., November 2010. 170 pages
2. Neil Leonard, Web and Digital for Graphic Designers : Bloomsbury Visual Arts, November 12, 2020. 216 pages.
3. การออกแบบเว็บไซต์ : Website Design ผู้เขียน ผศ. จรุงยศ อรัณยะนาค สำนักพิมพ์: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สนพ.แห่ง
4. คู่มือออกแบบและสร้างเว็บไซต์ ฉบับสมบรูณ์ ผู้เขียนดวงพร เกี๋ยงคำ สำนักพิมพ์: ไอดีซี พรีเมียร์, บจก.
- Bruce Hanington, Universal Methods of Design, Expanded and Revised: 125 Ways to Research Complex Problems, Develop Innovative Ideas, and Design Effective Solutions (Rockport Universal) : Rockport Publishers, December 3, 2019. 264 pages.
- Interaction Design Foundation, The Encyclopedia of Human-Computer Interaction, Second Edition (https://www.interaction-design.org/literature)
Online resources:
HTML5 Tutorial
- http://www.w3schools.com/html/default.asp
- http://mhtml5.blogspot.com/2014/01/1-html5.html
CSS Tutorial (http://www.w3schools.com/css/default.asp)
Page anatomy (http://designfestival.com/web-page-anatomy)
Design system: Google Material Design (https://m3.material.io/)
Web Design (http://www.softmelt.com/article.php?&cateID=20)
1.1     ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนในประเด็นต่อไปนี้

ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

1.2     ให้นักศึกษาประเมินภาพรวมของรายวิชาในประเด็นต่อไปนี้

ความรู้ความสามารถโดยรวม และประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรายวิชานี้ ความพึงพอใจต่อการเรียนรายวิชานี้ ข้อเสนอแนะอื่นๆ
2.1     ให้นักศึกษาประเมินอาจารย์ผู้สอนและภาพรวมของรายวิชาตาม ข้อ 1
2.2     สุ่มสังเกตการสอนและประเมินการจัดการเรียนการสอน(โดยเพื่อนอาจารย์) ในประเด็นต่อไปนี้

ความตรงต่อเวลา การแต่งกาย บุคลิกภาพ คำพูดและวาจาสุภาพ เหมาะสม การเป็นแบบอย่างที่ดี สอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรมระหว่างการสอน ความรู้ความสามารถทางวิชาการในหัวข้อที่สอน ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหาให้เข้าใจและกระตุ้นการเรียนรู้ แจ้งและสรุปวัตถุประสงค์การศึกษาหัวข้อที่สอน จัดการเรียนการสอนให้เกิดการเรียนรู้ตรงกับที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์การศึกษา การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ซักถาม แสดงความคิดเห็นระหว่างการเรียนการสอน

2.3     ให้อาจารย์ผู้สอนประเมินตนเองในประเด็นต่อไปนี้

ความเหมาะสมของเวลาที่ใช้ในการเตรียมสอน ความพึงพอใจของผู้สอนต่อผลการสอน ข้อที่ควรปรับปรุงแก้ไขหรือพัฒนาตนเองในการสอนครั้งต่อไป
3.1     ให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละหัวข้อบันทึกเหตุการณ์ระหว่างการสอนที่สมควรนำเสนอให้พิจารณารวมทั้งสิ่งที่ควรปรับปรุงแก้ไขในแต่ละคาบการสอน
3.2     ประชุม / สัมมนาอาจารย์ผู้สอนเพื่อพิจารณาปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนสำหรับปีการศึกษาต่อไปโดยอาศัยข้อมูลดังต่อไปนี้

ผลการศึกษาของนักศึกษา ผลการประเมินประสิทธผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ผลการประเมินการสอน บันทึกของกลุ่มอาจารย์ผู้สอน
การสุ่มสัมภาษณ์โดยคณะกรรมการทวนสอบระดับหลักสูตร การประเมินโดยผู้ทรงคุณวุฒิภายใน/ภายนอก
เมื่อสิ้นสุดทุกปีการศึกษา อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะจัดประชุม / ติดต่อขอความคิดเห็นจากอาจารย์ที่ร่วมสอน รวมทั้งพิจารณาสรุปผลการประเมินการสอน ผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา  เพื่อกำหนดประเด็นที่เห็นสมควรจัดให้มีการปรับปรุงในการศึกษาต่อไป ทั้งเนื้อหา ลำดับการสอน วิธีการสอนและการประเมินผล