การสร้างโมเดลและการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์

Computer Modeling and Simulation

1. เข้าใจ และสามารถฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ กระบวนการสร้างภาพ 3 มิติด้วยคอมพิวเตอร์ 
2. เข้าใจหลักการ และสามารถขึ้นรูปทรงของวัตถุรูปทรง 3 มิติต่างๆ
3. เข้าใจหลักการ และสามารถสร้างลวดลายบนพื้นผิววัตถุ 3 มิติ
4. เข้าใจหลักการ และสามารถจัดแสงเงาให้กับวัตถุ และการทำเทคนิคพิเศษในการประมวลผล
พิจารณายกการสอนโปรแกรมที่ง่ายไปเป็นคลิปให้นักศึกษาศึกษาได้ด้วยตนเอง หรือสลับไปไว้ช่วงท้ายของเทอม เพื่อไม่ให้นักศึกษาถอดใจเมื่อเรียนโปรแกรมง่ายแล้วไปเจอโปรแกรมที่ยาก ปรับรูปแบบการสอนเน้นให้ทำตามแบบ ลดการสร้างสรรค์งานลง เน้นให้เข้าใจการใช้งานโปรแกรม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ กระบวนการสร้างภาพ 3 มิติด้วยคอมพิวเตอร์  มุ่งเน้นการขึ้นรูปทรงของวัตถุรูปทรงต่างๆ การสร้างลวดลายบนพื้นผิววัตถุ 3 มิติ การจัดแสงเงาให้กับวัตถุ และการทำเทคนิคพิเศษในการประมวลผล
2 ชั่วโมงโดยระบุ วัน เวลา ไว้ในตารางสอน แจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน และติดประกาศไว้ที่บอร์ดประจำสาขาวิชา
- ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
- บรรยายเรื่องการลอกเลียนผลงาน และข้อตกลงร่วมกันในการเรียน
- ปฏิบัติงานกลุ่ม
- การเช็คชื่อเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การดูแลอุปกรณ์ในการเรียน
- การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา การแต่งกาย
- ประเมินจากผลงานที่ทำ
- ประเมินจากพฤติกรรมการเรียน
- รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง - มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
- การบรรยาย
- การมอบหมายงานค้นคว้า รายงาน
- จากการสอบข้อเขียน
- รายงานการค้นคว้า
- สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 
- มอบหมายงานบุคคล (งานในคาบเรียน)
- มอบหมายงานบุคคล (การบ้าน ค้นคว้า ฝึกปฏิบัติ)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ส่งแบบร่าง โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (งานในคาบเรียน การบ้าน)
- ประเมินผลงานกลุ่ม (การตรวจแบบร่าง โครงงาน)
- สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
- พฤติกรรมการเรียน การทำงานร่วมกันในกลุ่ม
- คะแนนการทำงานร่วมกัน 
- คะแนนแยกตามแต่ละส่วนหน้าที่
 
-  สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ  
- มอบหมายงานบุคคล (การบ้าน ค้นคว้า ฝึกปฏิบัติ)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ส่งแบบร่าง โครงงาน)
- การนำเสนอผลงาน
- มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ   - มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
- มอบหมายงานบุคคล (การบ้าน ค้นคว้า ฝึกปฏิบัติ)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ส่งแบบร่าง โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (งานในคาบเรียน การบ้าน)
- ประเมินผลงานกลุ่ม (การตรวจแบบร่าง โครงงาน)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 3.1.3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรม ศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการ และวิชาชีพได้ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
1 BAACD138 การสร้างโมเดลและการจำลองด้วยคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2 - การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา การแต่งกาย - ประเมินจากผลงานที่ทำ การส่งงาน - ประเมินจากพฤติกรรมการเรียน 1-15 10
2 2.1, 2.2 - จากการสอบข้อเขียน - รายงานการค้นคว้า 1-17 10
3 3.2, 6.1 - ประเมินจากผลงานรายบุคคล (งานในคาบเรียน การบ้าน) - ประเมินจากการส่งแบบร่าง 1-15 35
4 4.3, 6.2 - ประเมินผลงานกลุ่ม (การตรวจแบบร่าง โครงงาน) - คะแนนการทำงานร่วมกัน - คะแนนแยกตามแต่ละส่วนหน้าที่ 1-15 30
5 5.1 - การนำเสนอผลงาน 15 15
เอกสารประกอบการสอน 
- ZBrush character creation: advanced digital sculpting /Scott Spencer.
Author Spencer, Scott.
- ZBrush Character Creation
- Secrets of ZBrush experts: tips, techniques, and insights for users of all abilities /Daryl Wise and Marina Anderson.
- สร้างโมเดล 3 มิติด้วย SketchUp 8 + โปรแกรมเสริม ฉบับสมบูรณ์ /จุฑามาศ จิวะสังข์ ; พันจันทร์ ธนวัฒน        เสถียรบรรณาธิการ.
- SketchUp 8 + V-Ray /ผู้เขียน นพดล วศินสิทธิสุข.
- Autodesk 3DS max 8 revealed /Max Dutton and Rob Doran.
- Mastering Autodesk 3ds max design 2010 /Mark Gerhard, Jeffrey M. Harper, Jon McFarland.
- Maya 3D Animation Basic/ผู้เขียน สุชีพ วงษ์ตาแสง.
- สร้างและการจัดการแบบจำลอง 3 มิติ ด้วยโปรแกรม Maya 2017 /ปณิธิ  แก้วสวัสดิ์.
- Maya for Beginners/ผู้เขียน พูนศักดิ์ ธนพันธ์พาณิช
- MAYA REFERENCE /ผู้แต่ง พูนศักดิ์ ธนพันธ์พานิช
https://fastwork.co/blog/3d-model-website/
https://3dtotal.com/
https://www.sketchupschool.com/sketchup-tutorials/
http://www.cgarena.com/
เน้นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของผู้เรียนโดยใช้วิธีการดังนี้
1.1 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.2 การแสดงความคิดเห็น
1.3 การส่งข้อเสนอส่วนตัวให้ผู้สอน โดยการเขียนแสดงความคิดเห็นในการสอน ผ่านช่องทางต่างๆ                 
1.4 การประเมินตนเองของผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2 ผลการประเมินตามข้อ 1
2.3 การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา
2.4 อาจารย์ผู้สอนประเมนิตัวเอง
ความพึงพอใจการสอน
ความเหมาะสมของการเตรียมการสอน
ข้อควรปรับปรุงในการสอนครั้งต่อไป
3.1 บันทึกการสอนเพื่อเสนอการปรับปรุงแก้ไข
3.2 การประชุมคณาจารย์เพื่อปรับปรุงการสอน โดยใช้ข้อมูล ผลการประเมินของนักศึกษา ผลการเรียนของนักศึกษา การประเมินผลตนเอง บันทึกการสอน
4.1 ทวนสอบความถูกต้องของคะแนนอาจารย์ โดยประกาศคะแนนแต่ละส่วนให้นักศึกษาทวนสอบของตัวเอง เพื่อปรับปรุงแก้ไข
4.2 อาจารย์ทวนสอบการให้คะแนนกับพฤติกรรมของนักศึกษา
4.3 นักศึกษาประเมินตนเอง
4.4 ทวนสอบโดยกรรมการทวนสอบประจาหลักสูตร (สุ่มตรวจ)
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาในภาคการศึกษาต่อไป ในเรื่อง เนื้อหา ลำดับการสอน และวิธีประเมินผลการสอน