การสนทนาภาษาจีน

Chinese Conversation

จุดมุ่งหมายของรายวิชา เพื่อให้รู้ลักษณะโครงสร้างและตัวอักษรภาษาจีน เพื่อฝึกทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน

 

เพื่อให้สามารถล าดับความคิดได้อย่างถูกต้องและมีเหตุผล เพื่อสร้างเจตคติที่ดีต่อการเรียนภาษาจีน เพื่อพัฒนากิจนิสัยในการถ่ายทอดความคิดจากภาษาหนึ่งไปสู่อีกภาษาห
วัตถุประสงค์ในการพัฒนาปรับปรุงรายวิชา

เพื่อให้สอดคล้องกับระเบียบและแนวปฏิบัติ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
 
แห่งชาติ. ศพ. 2552 ของกระทรวงศึกษาธิการและส านักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(2552) และแนวการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ
1. ค าอธิบายรายวิชา
 
ศึกษาและฝึกทักษะพื้นฐานของภาษาจีน ได้แก่ อกเสียงระบบการอระบบสัทอักษร ศึกษาวิธีการเขีน อักษรจีนตามล าดับขีด(bishun) วิธีการเขียนอักษรจีนให้ถูกต้อง ฝึกทักษะการฟัง การพูด รกา เขียนจากค าศัพท์ วลี และประโยคอย่างง่าย
จ านวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้ค าปรึกษาและแนะน าทางวิชาการแก่นักศึกษ

 

อาจารย์ประจ ารายวิชา ประกาศเวลาให้ค าปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ

 

อาจารย์จัดเวลาให้ค าปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ1ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะ รายที่ต้องการ)


 
คุณธรรม จริยธรรม

 

คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา

 
พัฒนาผู้เรียนให้มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบ และสิ่งแวดล้อมเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเอง ให้เป็นบัณฑิตที่มีคุณล ประสงค์ของผู้ประกอบการจิตสาธารณะและสามารถทมี างานเป็นหมูคณะ
วิธีการสอน

 

บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา อภิปรายกลุ่ม ก าหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือก าหนดบทบาทสมม
วิธีการประเมินผล พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้

 

มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้น ามาท ารายงานอย่างถูกต้อและเหมาะสม ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา

 

ประเมินผลการน าเสนอรายงานที่มอบหมาย
ความรู้

 

ความรู้ที่ต้องได้รับ

 
มีความรู้ในหลักการความส าคัญ องค์ประกอบของโครงสร้างไวยากรณ์ภาษาจีน การอ่ และสะกดอักษรพินอิน หลักการสนทนาเบื้องต้น
2.2 วิธีการสอน
 
บรรยาย อภิปราย การท างานกลุ่ม การน าเสนอรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาข ที่เกี่ยวข้อง โดยน ามาสรุปและน าเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา และโครงงานProblem – based Learning และเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ
2.3 วิธีการประเมินผล
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและฎี
 
3. ทักษะทางปัญญา
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
 
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพ และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
 
 

วิธีการสอน

 

การมอบให้นักศึกษาท าโครงงานพิเศษและการน าเสนอผลงาน อภิปรายกลุ่ม

 

บรรยาย
วิธีการประเมินผล

 

สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการ วิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

 

วัดผลจากการประเมินโครงการ การน าเสนอผลงาน สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชที่ต้องพัฒนาบ พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน

 

พัฒนาความเป็นผู้น าและผู้ตามในการท างานเป็นทีม

 

พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายใ ตามก าหนดเวลา

 
วิธีการสอน จัดกิจกรรมกลุ่มในาเสนอผลงาน

 

มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่นการค้าคว้าเกี่ยวกับประวัติศาสต จีนหรืออ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา

 

การน าเสนอรายงาน
วิธีการประเมินผล ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่ก าหนด ประเมินจากรายงานที่น าเสนอ พฤติกรรมการท างานเป็นทีม

 

ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

 

ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒ

 

พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการ และน าเสนอในชั้นเรียน
พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา

 

พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเอร์เน็ต

 

ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ ทักษะในการน าเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหม
วิธีการประเมินผล ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการน าเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี

 

ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. หนังสือ ต ารา และเอกสารประกอบการสอนหลัก
 
35 หมวดค าศัพท์เฉพาะภาษาจีนที่ควรรู้,สานักพิมพ์พงศ์ภรณ์,2554, จิรวรรณ จิรันธร หนังสือไวยากรณ์จีน,านักพิมพ์ทฤษฎี,2547, เสี่ยว อานต้า หนังสือพจนานุกรม-ไทยจีน, ส านักพิมพ์รวมสาส์น,2537, เธียรชัย เอี่ยมวรเมธ ภาษาจีนปัจจุบัน,สานักพิมพ์Sinolingua, 2010, Wu Zhongwei
 
ภาษาจีนเพื่อการใช้งานแนวใหม่,สานักพิมพ์Beijing Language and Culture University, 2009, Liu
 
Xun
 
Experiencing Chinese, Hier Education Press, 2006, Zhang Rumei Xin Aibian http://www.lovechineseclub.com/
 
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชาWikipediaเช่นคาอธิบายศัพท์
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดท าโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการน าแนวคิดแ จากนักศึกษาได้ดังนี้
 

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

 

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

 

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดท าเป็นช่องทางการสื

 
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดท าโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการน าแนวคิดแ จากนักศึกษาได้ดังนี้
 

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

 

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

 

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดท าเป็นช่องทางการสื

 
กลยุทธ์การประเมินการสอน

ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

การสังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน

 

ผลการเรียนของนักศึกษา

 

การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
4.การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวัง ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจา ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ด
 

การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจ าหลักสูตร

 

มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
การด าเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา

 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับ และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

ปรับปรุงรายวิชาทุก3ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตา4

 

เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุก จากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ