การสื่อสารข้อมูลและคอมพิวเตอร์

Data and Computer Communication

1. เข้าใจเกี่ยวกับคำจำกัดพื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและข้อตกลงในการจัดระดับชั้นเครือข่ายและสถาปัตยกรรม เครือข่าย  2. เข้าใจเกี่ยวกับหลักการส่งถ่ายข้อมูล คุณสมบัติของตัวกลาง การมอดูเลตชั่น การมัตติเพล็กซิ่ง  การตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาด  3. เข้าใจเกี่ยวกับวิธีการจุดต่อจุดบนชั้นเครือข่าย การเชื่อมโยง แบบจำลองการประวิงในเครือข่ายข้อมูล  4. เข้าใจเกี่ยวกับการสื่อสารแบบเข้าถึงได้หลายเส้นทาง การควบคุมกระแสข้อมูล  5. เข้าใจเกี่ยวกับโปรโตคอลสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ โครงข่ายข้อมูลสาธารณะ โครงข่ายสื่อสารท้องถิ่น ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายสื่อสารด้วย คอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์สื่อสารข้อมูล
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานพื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและข้อตกลงในการจัดระดับชั้นเครือข่ายและสถาปัตยกรรม เครือข่าย หลักการส่งถ่ายข้อมูล คุณสมบัติของตัวกลาง การมอดูเลตชั่น การมัตติเพล็กซิ่ง  การตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาด วิธีการจุดต่อจุดบนชั้นเครือข่าย การเชื่อมโยง แบบจ าลองการประวิงในเครือข่ายข้อมูล การสื่อสารแบบเข้าถึงได้หลายเส้นทาง การ ควบคุมกระแสข้อมูล โปรโตคอลสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ โครงข่ายข้อมูลสาธารณะ โครงข่ายสื่อสารท้องถิ่น ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายสื่อสารด้วย คอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์สื่อสารข้อมูล
พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและข้อตกลงในการจัดระดับชั้นเครือข่ายและสถาปัตยกรรม เครือข่าย หลักการส่งถ่ายข้อมูล คุณสมบัติของตัวกลาง การมอดูเลตชั่น การมัตติเพล็กซิ่ง  การตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาด วิธีการจุดต่อจุดบนชั้นเครือข่าย การเชื่อมโยง แบบจ าลองการประวิงในเครือข่ายข้อมูล การสื่อสารแบบเข้าถึงได้หลายเส้นทาง การ ควบคุมกระแสข้อมูล โปรโตคอลสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ โครงข่ายข้อมูลสาธารณะ โครงข่ายสื่อสารท้องถิ่น ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายสื่อสารด้วย คอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์สื่อสารข้อมูล
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์ของสาขาวิชาและหน้าห้องพัก
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อม ๆ กับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษา เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม  สามารถพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรมอย่างน้อยดังนี้
              1.1.1    มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
              1.1.2    มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
              1.1.3    มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม
              1.1.4      เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
                 1.2.1   สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
                1.2.2   สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
                1.2.3   เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม
                1.2.4   ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
                1.2.5   เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
                1.2.6   ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
               1.2.7   ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
                1.3.1   ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
                1.3.2   ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
                1.3.3   ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
                1.3.4   ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
               1.3.5   มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ พื้นฐานการสื่อสารข้อมูลและข้อตกลงในการจัดระดับชั้นเครือข่ายและสถาปัตยกรรม เครือข่าย หลักการส่งถ่ายข้อมูล คุณสมบัติของตัวกลาง การมอดูเลตชั่น การมัตติเพล็กซิ่ง  การตรวจสอบและแก้ไขข้อมูลที่ผิดพลาด วิธีการจุดต่อจุดบนชั้นเครือข่าย การเชื่อมโยง แบบจ าลองการประวิงในเครือข่ายข้อมูล การสื่อสารแบบเข้าถึงได้หลายเส้นทาง การ ควบคุมกระแสข้อมูล โปรโตคอลสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ โครงข่ายข้อมูลสาธารณะ โครงข่ายสื่อสารท้องถิ่น ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายสื่อสารด้วย คอมพิวเตอร์ โปรแกรมประยุกต์สื่อสารข้อมูล
บรรยาย  อภิปราย การทำรายงานและการนำเสนอรายงาน และมอบหมายให้ค้นหาบทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง และเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1   ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความเข้าใจหลักการ การคำนวณเพื่อการวิเคราะห์
2.3.2   ประเมินจากการรายงานและการนำเสนอรายงาน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิด วิเคราะห์ และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
3.2.1    การมอบหมายงาน/การบ้านที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์
3.2.2   การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการเข้าใจหลักการ และการคำนวณเพื่อการวิเคราะห์ บรูณาการองค์ความรู้ในเนื้อหาของรายวิชาวิศวกรรมสายอากาศ
3.3.2   ประเมินผลจากการทำงาน/การบ้าน
3.3.3   วัดผลจากการประเมินจากรายงาน  การนำเสนอผลงาน
3.3.4   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทำงานทั้งความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าเนื้อหาวิชาในส่วนของคุณสมบัติของสายส่งสัญญาณชนิดต่างๆ  การนำสายส่งสัญญาณชนิดต่างๆ ไปใช้งานจริง  หรืออ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.2   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ผลจากการประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2   ผลจากการประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในด้านการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ผลของตัวอย่างวงจรที่กำหนดให้
5.1.4   พัฒนาทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ตอย่างเป็นระบบ
5.1.5   พัฒนาทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาตนเองผู้เรียน และการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
5.1.6   พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงานโดยสามารถเลือกรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 5.1.7  พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษาได้
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบ บคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อบุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม 2.1 มีองค์ความรู้ทางด้านคณิตศาสตร์และวิศวกรรมไฟฟ้าในกลุ่มวิจัย เพื่อการประยุกต์ใช้กับ งานทางด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี 2.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่ส าคัญในเนื้อหาของสาขา วิศวกรรมไฟฟ้า และน าไปประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติในวิชาชีพ 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 2.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาทางวิศวกรรมด้วยวิธีการวิจัยที่เหมาะสม รวมถึงการ ประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม 2.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการทางด้านวิศวกรรม ไฟฟ้ารวมทั้ง การน าไปประยุกต์ได 3.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดีและเป็นระบบ 3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.4 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาที่ซับซ้อนทางด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึง การใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.6 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคม และสามารถ แสดงความคิดเห็นทางวิชาการได้อย่างสร้างสรรค์ 4.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับ ทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 5.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ ส าหรับการท างานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพได้เป็นอย่างดี 5.3 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยในการติดตาม ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรมและสถานการณ์ด้านวิศวกรรมไฟฟ้าได้อย่างเหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ 5.4 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายโดยใช้ สัญลักษณ์ 5.5 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขา วิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
1 MENEE185 การสื่อสารข้อมูลและคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3, 3.1, 5.2 สอบกลางภาค ทดสอบย่อย สอบปลายภาค 9 13 17 20% 20% 30%
2 1.3, 2.1, 3.1, 5.2 การส่งการบ้านตามที่มอบหมาย การส่งงาน ตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1-1.3, 5.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน อ่านบทความที่เกี่ยวข้อง ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. การสื่อสารข้อมูลและโครงข่าย : Data Communication and Networking
2. Data Communications and Networking (McGraw-Hill Forouzan Networking) 4th Edition
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

                 2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.2  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ
5.2   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4