การออกแบบแฟชั่น

Fashion Design

        1.1   รู้และเข้าใจวิธีการเกี่ยวกับการร่างหุ่นคนเพื่อแสดงแบบ
        1.2  เข้าใจการวาดส่วนประกอบของร่างกายมนุษย์
        1.3  เข้าใจส่วนตกแต่งของเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย
        1.4  เข้าใจการศึกษาหลักการออกแบบแฟชั่นตามองค์ประกอบ
        1.5  มีทักษะในการออกแบบแฟชั่นให้เหมาะสมกับสิ่งทอพื้นถิ่นและสากล
         เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการร่างหุ่นคนเพื่อแสดงแบบ การวาดส่วนประกอบของร่างกายมนุษย์  ส่วนตกแต่งของเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย  การศึกษาหลักการออกแบบแฟชั่นตามองค์ประกอบเพื่อออกแบบให้เหมาะสมกับสิ่งทอพื้นถิ่นและสากลและเพื่อให้นักศึกษาเห็นคุณค่าของการออกแบบแฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์สิ่งทอพื้นถิ่นและสากล
           
            ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการร่างหุ่นคนเพื่อแสดงแบบ การวาดส่วนประกอบของร่างกายมนุษย์ ส่วนตกแต่งของเสื้อผ้าเครื่องแต่งกาย การศึกษาหลักการออกแบบแฟชั่นตามองค์ประกอบเพื่อออกแบบให้เหมาะสมกับสิ่งทอพื้นถิ่นและสากล
           Practice of drawing human body and fashion illustration, design principle for fashion design, which one based on textile vernacular and universal textiles.
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
2. มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
1.2.1   ให้ความสำคัญในระเบียบวินัยการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา มีความรับผิดชอบต่อ  ตนเองการส่งงานตรงเวลา  ตลอดจนการแต่งกายที่เป็นตามระเบียบที่เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2.2   บรรยายและยกตัวอย่างเกี่ยวกับเนื้อหาของการออกแบบ จรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา ทัศนคติที่เปิดกว้าง รู้หน้าที่ใน
การทำงาน มีความรับผิดชอบและสังคม
1.2.3    มอบหมายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นรายบุคคล
1.3.1    การตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม 
1.3.2   ความซื่อสัตว์สุจริตวินัยและความใส่ใจของนักศึกษาในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
1.3.3   สังเกตพฤติกรรมการเรียนการทำงานรายบุคคล
1.  มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
2.  มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2.1.1  มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
2.1.2 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2.2.1   ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามแบบและใบงาน บรรยาย โดยผู้สอนใช้  สื่อที่หลายรูปแบบ และการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้การวาดส่วนประกอบของร่างกายแฟชั่น และการหลักการออกแบบแฟชั่น   
2.2.2  ให้นักศึกษาปฏิบัติการออกแบบการวาดส่วนประกอบตามแฟชั่น   โดยนำหลักการทางทฤษฎีมาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสิ่งทอพื้นถิ่นและสากล
2.2.3  มอบหมายงานศึกษาค้นคว้ารายบุคคล
1. สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
2. มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
3.2.1  บรรยายและอธิบายโดยใช้สื่อการสอน สร้างสรรค์ผลงานออกแบบแฟชั่น 
3.2.2   มอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติงานเป็นรายบุคคลลงใน fashion sketch book
 3.3.1   สอบกลางภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการคิด การวิเคราะห์ การสังเคราะห์และการปฏิบัติงานออกแบบแฟชั่น
3.3.2   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีคิด การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ และการปฏิบัติงานออกแบบแฟชั่น         
3.3.3   การปฏิบัติงานรายบุคคลในห้องเรียนจากสมุดรวบรวมผลการเรียนรู้  Design Fashion Diary (Learning Portfolio)
3.3.4  การปฏิบัติงานรายบุคคลจากการศึกษาค้นคว้านอกเวลาเรียนของงานโครงการออกแบบแฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์สิ่งทอพื้นถิ่นและสากล
1.  มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี
2.  มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1   มอบหมายงานรายบุคคล สร้างภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นความรู้การออกแบบแฟชั่น ร่วมกับผู้อื่น เพื่อเป็นการเชื่อมความสัมพันธ์ที่ดีอย่างมีประสิทธิภาพ  
4.2.2  ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับของตนเอง
4.3.1  การปฏิบัติงานรายบุคคลในห้องเรียนจากสมุดรวบรวมผลการเรียนรู้ Design Fashion Diary (Learning Portfolio)
4.3.2  การปฏิบัติงานรายบุคคลจากการศึกษาค้นคว้านอกเวลาเรียนของงานโครงการออกแบบแฟชั่นที่มีความเป็นอัตลักษณ์สิ่งทอพื้นถิ่นและสากล
1.  สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จาก หนังสือ วารสาร เอกสาร บทความ งานวิจัยที่ได้มาจากเว็บไซต์ จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากผลการหาข้อมูลที่ถูกต้องจากการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์
5.3.2 ประเมินจากอธิบาย  การนำเสนอ และแก้ปัญหาด้านข้อมูลที่เหมาะสม
1.  มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1   สร้างสรรค์ผลงานตามแนวทางการปฏิบัติงานตามกระบวนการออกแบบแฟชั่นและใบงานปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง   
6.3.1  ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงานที่มอบหมาย
6.3.2  สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4
1 BAATJ106 การออกแบบแฟชั่น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 3.1.1,3.1.2 ประเมินผลจากผลงานภาคปฏิบัติ สัปดาห์ 1-8 20%
3 3.1.1,3.1.2 ประเมินผลจากผลงานภาคปฏิบัติ (การจัดการเรียนเต็มเวลาในชั้นเรียน) สัปดาห์ 10-16 30%
4 5.1.1, 6.1.1 การวิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 1.1.1, 4.2.1,4.2.2 การเข้าชั้นเรียน การทำงานกลุ่ม และผลการทำงาน ทักษะในการสร้างสัมพันธ์และมารยามสังคมที่ดีระหว่างผู้เรียนด้วยกัน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กรมศิลปากร. สมุดภาพแสดงเครื่องแต่งกายตามสมัยประวัติศาสตร์และโบราณคดี. กรุงเทพฯ :     
     ห้างหุ้นส่วนจำกัดศิวพร,2541.
2. เกสร  สุนทรศรี. งานเสื้อผ้าและการแต่งกาย, 2541.
3. จารุพรรณ  ทรัพย์ปรุง.  การออกแบบเครื่องแต่งกาย.  กรุงเทพ: โอเดียนสโตร์,  2543.
4.  จิตรพี  ชวลาวัณย์.  การออกแบบเครื่องแต่งกายสมัยใหม่.  กรุงเทพ: โอเดียนสโตร์,  2555.
5.  เจียมจิต  เผือกศรี.  การออกแบบเสื้อ.  กรุงเทพ: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ,  2550.
6.  นาโอกิ  วาตานาเบะ.  เทคนิคการวาดภาพแฟชั่นร่วมสมัย. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ ดวงกมลพับลิชซิ่ง,  2553.
7.  นวลน้อย  บุญวงษ์.  หลักการออกแบบ.  กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,  2539.
8.  นิตยา  นวลศิริ. ผ้าทอพื้นบ้านภาคเหนือ.
9.  นพวรรณ  หมั้นทรัพย์. ออกแบบเบื้องต้น. เชียงใหม่  : บริษัทนครฟิลม์อินเตอร์กรุฟจำกัด, 2551.
10.  พรสนอง  วงศ์สิงห์ทอง.  การออกแบบและพัฒนาแฟชั่นและมัณฑณภัณฑ์.  กรุงเทพ: วิสคอมเซ็นเตอร์,    2550.
11. พวงผกา  คุโรวาท. ประวัติเครื่องแต่งกาย. กรุงเทพฯอมรการพิมพ์, 2535.
12. ศูนย์สร้างสรรค์การออกแบบ. ความคิดสร้างสรรค์ในไทย. งานสัมมนา กรุงเทพฯ, 9 มิย. 51.
ไม่มี
http://writer.dek-d.com/jantana59/story/viewlongc.php?id=689654&chapter=16
http://www.tuifino.com/sawhand/sawhand.html
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1  การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 
1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.2 การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
     3.1 ทบทวนเนื้อหา และวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด
     3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
4.1 การทวนสอบผลการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 6 ด้าน
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 การประชุมกรรมการประจาหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา