ปัญญาประดิษฐ์เบื้องต้น

Introduction of Artificial Intelligence

:  เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจและอธิบายถึงปัญญาประดิษฐ์และการประยุกต์ใช้งาน เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนโปรแกรมทางด้านปัญญาประดิษฐ์ เพื่อให้นักศึกษามีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ ในการนำปัญญาประดิษฐ์ไปใช้
     2.1 เพิ่มเนื้อหาส่วนการปฏิบัติการและใบงานมากขึ้น เพื่อการประยุกต์ใช้ความรู้ทางทฤษฎี แล้วนำไปปฏิบัติ ซึ่งทำให้นักศึกษามีความเข้าใจมากขึ้น
     2.2 เพิ่มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เช่นสื่อการสอนในรูปแบบภาษาอังกฤษ เพื่อให้นักศึกษาได้ค้นหาเนื้อหาเพิ่มเติมมากขึ้น
ศึกษาประวัติความเป็นมาของปัญญาประดิษฐ์ การวิเคราะห์แบบมีนส์เอน ปัญญาประดิษฐ์ดั้งเดิม การประยุกต์ใช้เทคนิคของปัญญาประดิษฐ์ในชีวิตประจำวัน การค้นหาโดยไม่มีการชี้แนะ การค้นหาโดยมีเชาวน์ปัญญาช่วย การค้นหาเมื่อมีคู่ปรปักษ์ การเล่นเกม ตรรกะเงื่อนไข ระบบผู้เชี่ยวชาญโดยใช้กฎ การจัดการความไม่แน่นอนในระบบผู้เชี่ยวชาญ ตรรกะคลุมเครือ เครือข่ายใยประสาทเทียม ขั้นตอนวิธีเจเนติกการโปรแกรมเจเนติก ฝึกปฏิบัติในการนำซอฟต์แวร์ไปประยุกต์ใช้งาน
History of Artificial Intelligence (AI), means-ends analysis, and traditional AI, AI applications in daily life, uninformed searches, heuristic searches, adversarial searches, game playing, predicate logic, rule-based expert systems, uncertainty management in expert systems, fuzzy logic, artificial neural networks, genetic algorithms, genetic programming, practice by using software application
 
    3.1 วันจันทร์ - อังคาร เวลา 09.00 - 12.00 น. ห้อง..ABL201....โทร...  054 710259 ต่อ 508001
   3.2  e-mail; nongnuchketui@rmutl.ac.th
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
š1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
˜1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการใช้ปัญญาประดิษฐ์

มอบหมายงานกลุ่มที่เสริมสร้างการวางแผนการทำงาน การทำงานเป็นทีม การรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อื่น
การสังเกตพฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา การประเมินรายงานที่มีการอ้างอิงเอกสารที่เกี่ยวข้องได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม และการนำเสนองาน การประเมินผลการนำเสนอโครงงานที่มอบหมาย โดยตนเอง และเพื่อน
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
การบรรยายและใช้การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติเกี่ยวกับโครงสร้างข้อมูลและอัลกอริทึม

การศึกษาที่เน้นค้นคว้าด้วยตนเองจากสื่อการเรียนรู้ต่างๆ
การทดสอบย่อย หรือการทดสอบปฏิบัติ ทั้งข้อสอบอัตนัยและปรนัย การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ทั้งข้อสอบอัตนัยและปรนัย การประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ ประเมินจากการนำเสนอรายงาน และการซักถามของนักศึกษาในชั้นเรียน

การสังเกตพฤติกรรมและประเมินความเข้าใจในเนื้อหาของนักศึกษาจากการถาม-ตอบของนักศึกษาในชั้นเรียน
˜3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
š3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
การมอบหมายงานหรือกรณีศึกษาที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์และแก้ไขปัญหา การศึกษาค้นคว้าการเขียนรายงานและการนำเสนอผลงาน การให้นักศึกษาปฏิบัติงานจากสถานการณ์จริง

การสอนแบบตั้งคำถาม
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
˜4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
การมอบหมายงานกลุ่มที่กำหนดกรณีศึกษาให้นักศึกษาต้องทำการวิเคราะห์ร่วมกัน การมอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
การประเมินจากโครงงานกลุ่มที่นำเสนอ การประเมินจากการแบ่งงาน ความรับผิดชอบ ภายในกลุ่ม
˜5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การสอนที่ส่งเสริมให้นักศึกษาตัดสินใจบนข้อมูลเชิงตัวเลข การสอนโดยการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล โดยใช้คำสำคัญที่เกี่ยวข้องกับเนื้องหาในแต่ละบทเรียน การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์ การนำเสนองานด้วยวิธีวาจา
การสังเกตจาก งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง การนำเสนองาน การตรวจสอบงานที่รับมอบหมาย แบบดี่ยวและกลุ่ม การประเมินจากรายงานและรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี

การประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
˜6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
˜6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
š6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
การมอบหมายใบงานเพื่อปฏิบัติการในห้องปฏิบัติการ เช่น การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ และการลงระบบปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ เพื่อให้ใช้งานได้
การทำแบบทดสอบวัดการปฏิบัติ งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 1 2 3 1 2 3
1 BSCCS202 ปัญญาประดิษฐ์เบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรมและจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 6. ทักษะปฏิบัติ การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 5%
2 2.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5%
3 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะปฏิบัติ การทดสอบย่อย 4 ครั้ง 4, 7, 10, 13 10%
4 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา การสอบกลางภาค 8 30%
5 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
6 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 5. ทักษะการวิเคราะห์ การสอบปลายภาค 16 30%
ณัฐพงษ์ วารีประเสริฐ และ ณรงค์ ล่ำดี, ปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence). เคทีพี คอมพ์ แอนด์ คอนซัลท์, 2552. Robert J. Schalkoff, Artificail Intelligence: An Engineering Approach. McGraw-Hill Book Co., 1990. Stuart J. Russell and Peter Norvig, Artificial Intelligence: A Modern Approach. Prentice-Hall, Inc., 2003. Amit Konar, Artificial Intelligence and Soft Computing: Behavioral and Cognitive Modeling of the Human Brain. CRC Press LLC, 2000
ไม่มี
เว็บไซด์ต่างๆ โดยใช้ คำสำคัญ “ปัญญาประดิษฐ์” และคำสำคัญประจำเนื้อหาของแต่ละบท เพื่อใช้ในการค้นหา
1.1 ตอบคำถามในชั้นเรียน
1.2 ตรวจสอบจากการบ้าน หรือ ใบงานของการปฏิบัติการทดลอง
1.3 ประเมินการให้คะแนนของนักศึกษาด้วยกันเอง ในการนำเสนองาน
ประเมินการสอนจากนักศึกษาเมื่อภาคเทอมการศึกษา และผลการเรียนของนักศึกษา
นำผลการเรียนของนักศึกษาและผลการประเมินการสอนของนักศึกษา ในปีก่อนหน้า มาวางแผนและปรังปรุงการสอน และมีการ การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนระหว่างเขตพื้นที่
ให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนและหลังการเรียน และประเมินจากการนำเสนองาน และผลการปฏิบัติตามใบงานในห้องปฏิบัติการ
 ให้นักศึกษาทำแบบทดสอบก่อนและหลังการเรียน และประเมินจากการนำเสนองาน และผลการปฏิบัติตามใบงานในห้องปฏิบัติการ