การเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์

Computer–Electrical Drawing

เพื่อศึกษาการใช้โปรแกรม Autocad ปฏิบัติการเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยการเขียนสัญลักษณ์ทางไฟฟ้า ชุดคำสั่งในการเขียนแบบ ชุดคำสั่งในการแก้ไขภาพ การเขียนเส้นบอกขนาด การเขียนแบบระบบไฟฟ้า และการพิมพ์แบบแปลน
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในการเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านวิศวกรรมไฟฟ้าที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
        ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับการใช้โปรแกรม Auto CAD ชุดคำสั่งในการเขียนแบบ ชุดคำสั่งในการแก้ไขภาพ การเขียนเส้นบอกขนาด การเขียนแบบระบบไฟฟ้า และการพิมพ์แบบแปลน
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 ไม่เน้น
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 ไม่เน้น
1.2.1 กำหนดเรื่องการแต่งกาย การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม การจัดการห้องเรียน
1.2.2 การออกแบบให้ถูกต้องตามมาตรฐาน ความรับผิดชอบต่อผู้อื่น
1.3.1 สังเกตุจากการแต่งกาย การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม การจัดการห้องเรียน
1.3.2 ตรวจงานการเขียนแบบออกแบบ
1.3.3 สัมภาษณ์แนวคิดในเขียนแบบการออกแบบ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจการเขียนแบบไฟฟ้าด้วยโปรแกรม Autocad 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์อื่นๆ เพื่อใช้ในการเขียนแบบ
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้จากโปรแกรม AutoCad ใช้กับวิชาอื่นได้
2.2.1 ฝึกการใช้โปรแกรม พื้นฐาน
2.2.2 ฝึกการใช้โปรแกรม เพื่อการเขียนแบบไฟฟ้าด้วยโปรแกรม
        2.3.1 ประผลแบบฝึกหัดที่ใช้ในการฝึกปฏิบัติ
        2.3.2 การการทดสอบ และประเมินจากงานที่นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติ
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ 3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
การประยุกต์ใช้ความรู้พื้นฐานเพื่อใช้กับการเขียนแบบไฟฟ้า
วัดผลจากการปฏิบัติงานของนักศึกษา
ไม่เน้น
-
-
ไม่เน้น
-
-
ไม่เน้น
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2 ด้านความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 3.1 3.2 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1. 5.2 5.3 6.1 6.2
1 TEDEE112 การเขียนแบบไฟฟ้าด้วยคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.3.1 สังเกตุจากการแต่งกาย การมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรม การจัดการห้องเรียน 1.3.2 ตรวจงานการเขียนแบบออกแบบ 1.3.3 สัมภาษณ์แนวคิดในเขียนแบบการออกแบบ ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจการเขียนแบบไฟฟ้าด้วยโปรแกรม Autocad 2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์อื่นๆ เพื่อใช้ในการเขียนแบบ 2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้จากโปรแกรม AutoCad ใช้กับวิชาอื่นได้ ตรวจงานที่ส่ง ทุกสัปดาห์ที่มีการปฏิบัติ 45 %
3 3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ 3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ - จากการตรวจงานที่นักศึกษาส่งงาน - จากการสัมภาษณ์ ทุกสัปดาห์หลังการส่งงาน 45%
        หนังสือคู่มือการใช้โปรแกรม AutoCad 2022
        หนังสือการเขียนแบบไฟฟ้า
        หนังสือการประมาณราคาการติดตั้งไฟฟ้า
        หนังสืออ่านแบบ เขียนแบบงานโครงสร้าง
        แบบบ้าน
        แคตตะล็อกอุปกรณ์ไฟฟ้า
        มาตรฐานการติดตั้งไฟฟ้า
        เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
        การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้   การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
        ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้                2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน                2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา                2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
        หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้         3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน         3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้         4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร         4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้         5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตาม    ข้อ 4         5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ