สุนทรียศาสตร์

Aesthetics

ศึกษาเกี่ยวกับ ความหมาย ความสำคัญและคุณค่าของสุนทรียศาสตร์ แนวคิดเกี่ยวกับความรู้สึกและการแสดงออก ปัญหาเกี่ยวกับความมีอยู่ของความงาม การสร้างสรรค์ และการประเมินค่าความงาม รวมทั้งสุนทรียศาสตร์ตะวันออกและตะวันตก
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในความหมาย ความสำคัญและคุณค่าของสุนทรียศาสตร์ แนวคิดเกี่ยวกับความรู้สึกและการแสดงออก ปัญหาเกี่ยวกับความมีอยู่ของความงาม การสร้างสรรค์ และการประเมินค่าความงาม รวมทั้งสุนทรียศาสตร์ตะวันออกและตะวันตก
ศึกษาเกี่ยวกับ ความหมาย ความสำคัญและคุณค่าของสุนทรียศาสตร์ แนวคิดเกี่ยวกับความรู้สึกและการแสดงออก ปัญหาเกี่ยวกับความมีอยู่ของความงาม การสร้างสรรค์ และการประเมินค่าความงาม รวมทั้งสุนทรียศาสตร์ตะวันออกและตะวันตก
1
1.1 คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง 1.1.3 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ มีความรู้ และความเข้าใจ ความหมาย ความสำคัญและคุณค่าของสุนทรียศาสตร์ แนวคิดเกี่ยวกับความรู้สึกและการแสดงออก ปัญหาเกี่ยวกับความมีอยู่ของความงาม การสร้างสรรค์ และการประเมินค่าความงาม รวมทั้งสุนทรียศาสตร์ตะวันออกและตะวันตก
2.2.1 บรรยาย ยกตัวอย่าง และจากการฝึกการประเมินค่าความงามทางสุนทรียศาสตร์
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี 2.3.2 ประเมินจากการประเมินค่าความงามทางสุนทรียศาสตร์
3.1.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการเขียนแบบ
3.2.1 บรรยาย และการให้นักศึกษาฝึกการประเมินค่าความงามทางสุนทรียศาสตร์ 3.2.2 การสะท้อนแนวคิดจากการอภิปราย
3.3.1 สอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิด
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน 3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล 4.2.2 การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินจากผลงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 4.3.2 ประเมินจากงานที่มอบหมาย
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข 5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน 5.1.3 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต 5.1.4 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ 5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี 5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะควาสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 3 2 3 1 2 4 3 2 1 4 3 1 2 1 2 3
1 BFACC403 สุนทรียศาสตร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1, 3.3.1, สอบกลางภาค และสอบปลายภาค 8, 17 15%, 15%
2 2.3.2, 3.3.2, 3.3.3, 4.3.1, 4.3.2, 5.3.1, 5.3.2 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา ปลายภาคการศึกษา 50%, 10%
3 1.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8, 17 15%, 15%
กนกนภ นามวงษ์. 2555. แนวคิดเรื่องความงามของคาลิล ยิบราน. วิทยานิพนธ์ ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต(ปรัชญา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
กีรติ บุญเจือ. 2522. ปรัชญาศิลปะ. กรุงเทพฯ:ไทยวัฒนาพานิช.
กีรติ บุญเจือ. 2527. แก่นปรัชญายุคกลาง. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.
โกสุม สายใจ. 2547. สีและการใช้สี. กรุงเทพฯ. สายใจพริ้นติ้ง.
คาลิล ยิบราน. 2543. ปีกหัก [The Broken Wing] (ระวี ภาวิไล, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: ผีเสื้อ.(ต้นฉบับพิมพ์ ปี ค.ศ. 1912)
นาวิน ปัญญาหาญ. 2551. สุนทรียศาสตร์เชิงพุทธในผ้าทอเมืองน่าน. วิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นิพาดา เทวกุล. ความคิดปรัชญาเบื้องหลังภาพเขียน Abstract. ศิลปกรรมศาสตร์. ปีที่ 2
ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2537) : หน้า 9-12
นิพาดา เทวกุล. (ไม่ปรากฎวันที่). ความคิดสร้างสรรค์ (Creative Thinking) [บล๊อก]. สืบค้นจาก
https://pirun.ku.ac.th/~agrpct/lesson1/creative_thinking.html
พจนา จันทรสันติ (แปล). (พิมพ์ครั้งที่ 10 : 2530). วิถีแห่งเต๋า. กทม. สำนักพิมพ์เคล็ดไทย.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (พิมพ์ครั้งที่ 7 : 2541). พุทธธรรม. กทม. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย.
พระมหารังสันต์ กิตฺติปญฺโญ (ใจหาญ). 2553. การศึกษาวิเคราะห์สุนทรียศาสตร์ในพุทธปรัชญาเถรวาท. วิทยานิพนธ์ พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา บัณฑิตวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). 2540. ปรัชญากรีก. พิมพ์ครั้งที่ 3.
พ่วง มีนอก. 2530. สุนทรียศาสตร์. กรุงเทพ: กิ่งจันทร์การพิมพ์.
พิมพาภรณ์ เครื่องกำแหง. 2531. สุนทรียทัศน์ในพระสุตตันตปิฎก. เชียงใหม่ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
แพรวพรรณ น้ำหอม. 2554. สุนทรียทัศน์ของ วินเซนต์ แวนโก๊ะ. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พัชรีวัลย์ เกตุแก่นจันทร์. 2544. การบริหารสมอง. กรุงเทพฯ. เดอะมาสเตอร์กรุ๊ป แมเนจเม้นท์
เพลโต. 2514. ทฤษฎีความรัก. เชียงใหม่. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เพลโต. 2543. ปรัชญาความรัก.กรุงเทพฯ.  ดับเบิ้ลนายน์.
ไพฑูรย์ พัฒน์ใหญ่ยิ่ง. 2541. สุนทรียศาสตร์. แนวความคิด ทฤษฎีและการพัฒนา. กรุงเทพฯ. เสมาธรรม.
เยื้อง ปั้นเหน่งเพชร. 2547. สุนทรียศาสตร์. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1
ราชบัณฑิตยสถาน. 2546. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. นานมีบุ๊คพับลิเคชั่นส์.
ระวี ภาวิไล (แปล). พิมพ์ครั้งที่ 4 : 2516). ปรัชญาชีวิต. กทม. สำนักพิมพ์
ลักษณวัต ปาละรัตน์. 2551. สุนทรียศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ลีโอ ตอลสตอย. 2528. ปรัชญาชีวิต [What is Art] (สิทธิชัย แสงกระจ่าง, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: ภาษาหนังสือ. (ต้นฉบับพิมพ์ ปี ค.ศ. 1962)
วรรณวิสาข์ ไชยโย. 2552. สุนทรียศาสตร์.เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
วิรุณ ตั้งเจริญ. (2535). ศิลปะและความงาม. กทม. สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.
วิรุณ ตั้งเจริญ. 2546. สุนทรียศาสตร์เพื่อชีวิต. กรุงเทพฯ : อีแอนด์ไอคิว
สกนธ์ ภู่งามดี. 2548. ศิลปปริทัศน์.  สำนักพิมพ์บุ๊คส์พ้อยท์.
เสถียร เหลืองอร่าม. 2519. หลักการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ : แพร่พิทยา
สิงห์ทน คาซาว. 2519. ปรัชญา. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุวรรณา วงศ์ไวศยวรรณ. 2553. เยิรเงาสลัว. สนพ. openbooks.
ศิลป์ พีระศรี. (2508). “ศิลปะและศีลธรรม” การแสดงศิลปะนานาชาติ. ครั้งที่ 1. กทม. : ไทยวัฒนาพานิช
หอมหวล บัวระภา. 2558. https://homhuan2554.wordpress.com
อารี สุทธิพันธุ์. 2533. ประสบการณ์สุนทรียะ. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ.
อารี สุทธิพันธุ์. (2538). สุนทรียศาสตร์. พิมพ์สำนักงาน คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อารี รังสินันท์. 2526. ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ. ธนการพิมพ์
อิสระ ตรีปัญญา. 2551. สุนทรียทัศน์ในงานจิตรกรรมแบบเซน (Aesthetical concept in Zen painting).
เชียงใหม่ : วิทยานิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
เอกชัย สุนทรพงศ์. 2529. ความงาม สุนทรียศาสตร์ สาหรับผู้ใฝ่รู้. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
เอกชัย สุนทรพงศ์. 2548. ปรัชญาน่าคิดของคาลิล ยิบราน. กรุงเทพฯ : แสงดาว
https://th.wikipedia.org/wiki/
http://www.novabizz.com/NovaAce
http://www.nkgen.com/patitja6.htm
http://www.gracezone.org/index.php/management-article/387-eight-need-domains
http://www.whatami.net/for/for2.html
https://romravin.wordpress.com/2011/05/22/
http://www.dailymail.co.uk/sciencetech/article-2122087/
http://www.catdumb.com/15-most-expensive-paintings/
https://www.etsy.com/listing/94363585/the-prophet-kahlil-gibran-1960s
http://www.taradplaza.com/product/4575466
http://www.baanchiang.com/
http://www.virtualmuseum.finearts.go.th/bangkoknationalmuseums/index.php/
http://thawarawadeekingdom.blogspot.com/
http://www.thongthailand.com/index.php?lite=article&qid=42230907
http://www.painaidii.com/business/117452/wat-pra-sing-50200/lang/th/
http://www.nuntara.com/thai/history.php
www.era.su.ac.th
http://www.agilenttour.com/
https://en.wikipedia.org/wiki/Sanchi
https://discoveringpakistan.wordpress.com/2013/05/15/gandhara-art-architecture-photos-i/
https://www.pinterest.com/pin/232287293250775433/
https://panupong088.wordpress.com
https://sites.google.com/site/pmtech23011004/sunthriysastr-beuxng-tn
http://oknation.nationtv.tv/blog/winsstars/2009/09/13/entry-2
http://www.friendlyplanet.com/taj-mahal-express.html
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด 1.3 ข้อเสนอแนะผ่าน Google Form ที่ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางในการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์พฤติกรรมของผู้เรียน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน