การบริหารจัดการระบบ

System Management

1. เพื่อต้องการให้เข้าใจความหมายการบริหารงานอุตสาหกรรม
2. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับความรู้ด้านการจัดการและการควบคุมในระบบอุตสาหกรรมมาตรฐานและความปลอดภัยทางวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์ โลจิสติกส์
3. เพื่อให้รู้จักการนำระบบสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการ
ศึกษาเกี่ยวกับความรู้ด้านการจัดการและการควบคุมในระบบอุตสาหกรรมมาตรฐานและความปลอดภัยทางวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์ โลจิสติกส์ รวมไปถึงการนำสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการ
Study of Knowledge management and control systems in the Industry standard and safety engineering logistic economics, information for management.
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
1.2.2 เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสมถูกต้องตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
1.2.3 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
1.2.4 ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
 
1.3.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
1.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จากการขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้นเรียน
1.3.3 ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ
1.3.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จากการขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้นเรียน
1.3.5 ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ
ศึกษาเกี่ยวกับความรู้ด้านการจัดการและการควบคุมในระบบอุตสาหกรรมมาตรฐานและความปลอดภัยทางวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์ โลจิสติกส์ รวมไปถึงการนำสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการ
2.2.1 ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการนำเสนอหัวข้อจากกิจการจริง เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2.2.2 จัดกิจกรรมทางวิชาการและเทคโนโลยีในรู้แบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.3 นำ You Tube เกี่ยวกับเรื่อง การลดต้นทุนการผลิตมาเสริมจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญในชั้นเรียนด้วย
2.3.1 ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี 
2.3.2 ประเมินด้านความรู้จากกิจกรรม.........ของผู้เรียน
2.3.3 สังเกตจากการ ถาม – ตอบในชั้นเรียน
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction)
3.2.2 มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์
3.3.1 ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา
3.3.2 ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย/การทดสอบย่อย
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสรกิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯเพื่อส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
4.2.2 กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
4.2.3 ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.2.4 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่มและสังคม
4.3.1 ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
4.3.3 ประเมินพฤติกรรมภาวการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4.3.4 สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารได้อย่างเหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้นศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 ส่งเสริมให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข
5.2.2 ใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย
5.2.3 มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆ และให้นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
5.3.1 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
5.3.2 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
5.3.3 ประเมินจากผลงานและการนำเสนอรายงาน ด้วยสื่อภาษาต่างประเทศ
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลาเครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการปฎิบัติงานกลุ่มมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2
1 ENGIE139 การบริหารจัดการระบบ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 จิตพิสัย เวลาเรียน/จิตพิสัย/กิจกรรม ตลอดเทอม 10%
2 สอบ สอบกลางภาค สอบกลางภาค 8 16 40%
3 นำเสนอ การแบ่งกลุ่มนำเสนองาน 15 10%
4 สอบย่อย ทดสอบหลังเรียบแต่ละหน่อยเรียน ตลอดเทอม 40%
ผศ.ดร.ยุทธ ไกยวรรณ์ : การบริหารการผลิตในงานอุตสาหกรรม ศูนย์ส่งเสริมกรุงเทพ กทม.
 รศ.เปรื่อง กิจรัตน์ภร : การจัดองค์การอุตสาหกรรมและการผลิต ศูนย์หนังสือราชภัฏพระนคร
 รศ.กิติศักด์ พลอยพานิชเจริญ : หลักการควบคุมคุณภาพ มหาวิทยาลัยพระจอมกล้าธนบุรี
 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.4 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม