การออกแบบระบบข่ายสาย

Cabling Network System Design

   1.1  มีความเสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กร และสังคม
   1.2  มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สําคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม เช่น โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
   1.3  มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต้อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
   1.4  รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทํางานตามที่มอบหมาย  ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทํางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นําและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ  สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
   1.5  สามารถใช้เครื่องมือการคํานวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องได้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการออกแบบระบบข่ายสาย  มาตรฐานการต่อสายแบบต่างๆ การออกแบบคู่สายสมาชิก เพื่อใช้ในระบบสื่อสาร ทั้งสายเคเบิลเหนือศีรษะและใต้ดิน  เข้าใจการออกแบบชุมสายเคเบิล การออกแบบสายทางไกล ความเข้าใจในการวิเคราะห์และบำรุงรักษางานทางสายตอนนอก สายเคเบิลใยแสง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การต่อสายแบบต่างๆ ระบบจ่ายสาย  การออกแบบคู่สายสมาชิก  การออกแบบสายกระจาย  สายเคเบิลเหนือศีรษะและใต้ดิน  การออกแบบชุมสายเคเบิล  การออกแบบสายทางไกล  การบำรุงรักษางานทางสายตอนนอก สายเคเบิลใยแสง
อาจารย์จัดเวลาให้นักศึกษาเข้าพบเพื่อขอคำปรึกษาและแนะนำเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการอย่างน้อย 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย  ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม  จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กร และสังคม
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย   โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา แต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย รวมถึงการอบรมสั่งสอนให้นักศึกษามีความซื่อสัตย์สุจริตโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเรียนและการสอบ
สังเกตพฤติกรรมการมีสัมมาคารวะ และความซื่อสัตย์สุจริตโดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเรียนและการสอบ
พิจารณาจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
ใช้การสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเนนหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ใช้ทางปฎิบัติ  มีโจทย์ปัญหาเพื่อฝึกให้นักศึกษาได้วิเคราะห์และแก้ไข  วิธีการที่เหมาะสม แนะนำให้ใช้โปรแกรมประยุกต์ในคอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม
การทดสอบยอย
การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทํา
   มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
   สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต และทันต้อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
กำหนดกรณีศึกษาเพื่อให้ได้คิดอย่างมีวิจารณญาณ วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหา มีการสืบค้นข้อมูล ฝึกให้ค้นคว้าหาความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
ประเมินจากข้อสอบที่ให้นักศึกษาแสดงความคิด วิเคราะห และตัดสินใจ
 ประเมินจากผลงาน/รายงานที่ให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล
รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทํางานตามที่มอบหมาย  ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม สามารถปรับตัวและทํางานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นําและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ  สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
กำหนดการเรียนการสอนให้มีกิจกรรมทำงานเป็นกลุ่มเพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสแสดงความคิดเห็น  ประสานงาน  หาข้อมูล วางแผนร่วมกับบุคคลอื่นในหลาย ๆ ด้าน  โดยคาดหวังผลในการเรียนรู้ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล   ความรับผิดชอบในรายวิชา
พิจารณาจากกระบวนการ ขั้นตอน และวิธีการนำเสนอผลงานกลุ่ม
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
สอน/แนะนำการประยุกต์ใช้เครื่องมือเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงตัวเลข
การทดสอบ/ประเมินจากงานที่มอบหมาย หรือ จากปฏิบัติการใช้เครื่องมือ
เน้นไปที่การสร้างทักษะการปฏิบัติงานทางด้านวิศวกรรม ดังข้อต่อไปนี้ (1) มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมี ความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ลงมือปฏิบัติจริง โดยใช้ ความรู้จากวิชาต่างๆ ที่เรียนมา การวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย ดังข้อต่อไปนี้ (1) สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน (2) สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ (3) สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมกับหน่วยงานภายในและภายนอก (4) จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
(1) มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน (2) มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน (3) มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2. 3. 4. 5. 1. 2.
1 ENGEE217 การออกแบบระบบข่ายสาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.3, 3.1, 5.2 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 และ 17 30% 30%
2 1.3, 2.1, 3.1, 5.2 การส่งการบ้านตามที่มอบหมาย การส่งงาน ตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 30%
3 1.3, 4.1-4.4 ารเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
                1. Bell, David A. Electronic Instrumentation and Measurements. 2nd ed. Prentice – Hall, 1994.
                2. TIA/EIA-568-B.1 STANDARD-2001 คู่มือมาตรฐานระบบสายสัญญาณสื่อสารสำหรับอาคารสำนักงาน ,The Electronic Industries Alliance.
ไม่มี
ไม่มี
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
4.2  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ
5.2   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4