เครื่องทุ่นแรงฟาร์มทางการเกษตร

Farm Machinery

ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ชนิด หลักการทำงาน การเลือก การใช้ การบำรุงรักษาเครื่องทุ่นแรงฟาร์มอย่างถูกต้องและปลอดภัย การส่งน้ำและระบบการให้น้ำ ระบบปั๊มสูญญากาศและเครื่องรีดนม เครื่องมือในกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เครื่องทำความเย็นและห้องเย็น ระบบควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือนปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพลังงานทดแทน
ศึกษาวิเคราะห์และปรับปรุงรูปแบบการใช้งาน การบำรุงรักษารถแทรกเตอร์เพื่อการเกษตรและ เครื่องทุ่นแรงฟาร์ม ระบบการให้น้ำแก่พืชที่ปลูก โดยมีการนำความรู้ทางเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ใน การวิเคราะห์และออกแบบ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ชนิด หลักการทำงาน การเลือก การใช้ การบำรุงรักษาเครื่องทุ่นแรงฟาร์มอย่างถูกต้องและปลอดภัย การส่งน้ำและระบบการให้น้ำ ระบบปั๊มสูญญากาศและเครื่องรีดนม เครื่องมือในกระบวนการผลิตอาหารสัตว์ เครื่องทำความเย็นและห้องเย็น ระบบควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือนปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์ และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพลังงานทดแทน
1 ชั่วโมง
มีวนิยั ขยนั อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและ สิ่งแวดล้อม
- สอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะที่สอนเนื้อหาโดยสอดแทรกเรื่อง คุณธรรม จริยธรรม การรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม -กำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ เช่น การตรงเวลา และเข้ารียนอย่างสม่ำเสมอ - ให้งานมอบหมายและกำหนดเวลาส่งงานมอบหมายตามเวลาที่กำหนด
1.3.1 การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
1.3.2 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จากการขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้นเรียน
1.3.3 ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ
1.3.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ อย่างต่อเนื่อง จากการขานชื่อการให้คะแนนเข้าชั้นเรียน
1.3.5 ประเมินปริมาณการทุจริตในการสอบ
หลักการทำงาน การเลือกใช้  เครื่องจักรกลการเกษตร
การบำรุงรักษาเครื่องทุ่นแรงฟาร์มอย่างถูกต้องและปลอดภัย
ระบบการส่งน้ำและระบบการให้น้ำ
ระบบปั๊มสูญญากาศและเครื่องรีดนม
เครื่องมือในกระบวนการผลิตอาหารสัตว์
เครื่องทำความเย็นและห้องเย็น
ระบบควบคุมสภาพอากาศในโรงเรือนปลูกพืชและเลี้ยงสัตว์
และความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพลังงานทดแทน
2.2.1 ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้
2.2.2 จัดกิจกรรมทางวิชาการและเทคโนโลยีในรู้แบบการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.2.3 การลงปฎิบ้ติงาน
- ทดสอบโดยข้อเขียน และสงัเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายปัญหาในช้นักเรียน - ดูจากรายงาน การนำเสนอรายงานและการปฎิบัติงานจริง
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1 ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปัญหา ( Problem Based Instruction)
3.2.2 มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด
3.2.3 การลงปฎิบัติงาน
.3.1 ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปัญหา
3.3.2 ประเมินจากการทดสอบย่อย
4.1.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสรกิจกรรมของมหาวิทยาลัยฯเพื่อส่งเสริมทักษะการอยู่ในสังคม
4.2.2 กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็นผู้นำ การเป็นสมาชิกกลุ่มและผลัดกันเป็นผู้รายงาน
4.2.3 ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
4.2.4 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่มและสังคม
4.3.1 ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา
4.3.3 ประเมินพฤติกรรมภาวการเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4.3.4 สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม -สามารถสืบคน้ ศึกษาวเิคราะห์และประยกุต์ใช้เทคโนโลยเีพื่อแกไ้ขปัญหาอย่าง เหมาะสม
- มีการนำเสนองานกลุ่มหรือโครงงานต่อช้นั เรียน พร้อมข้อเสนอแนะเพื่อเน้นให้ นักศึกษาใช้ภาษาที่ ถูกต้อง ชัดเจนและกระชับ -กำหนดใหม้ีการนา เสนอประกอบสไลด์หน้าชั้นเรียน
- ประเมินจากผลงานที่ต้องวิเคราะห์เชิงปริมาณ - ประเมินจากการใชส้ื่อและภาษาที่ใชใ้นการเขียนรายงานและการนา เสนอในช้นั เรียน - ประเมินจากการนำเสนอขอ้ มูลอย่างเป็นระบบ โดยอาจนำเสนอในรูปของตัวเลข กราฟหรือตาราง
- มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์ และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ - มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ ความรับผิดชอบและมีความร่วมมือกัน เป็นอย่างดี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG007 เครื่องทุ่นแรงฟาร์มทางการเกษตร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 จิตพิสัย เวลาเรียน/จิตพิสัย/กิจกรรม ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 การปฎิบัติตามใบงาน ทดสอบภาคปฎิบัติและทำใบงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 16 30%
จิราภรณ์ เบญจประกายรัตน์. เครื่องจักรกลการเกษตร1.พิมพค์ร้ังที่1. กรุงเทพฯ:แผนกต าราคณะ วิศวกรรมศาสตร์.สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 2542. 
บพิตร ต้งัวงคก์ิจและรัตนา ต้งัวงคก์ิจ.อุปกรณ์และเครื่องจักกลการเกษตร.พิมพค์ร้ังที่1. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,2550. 
เสมอขวญั ตนั ติกุล.เครื่องทุ่นแรงในฟาร์ม1. ภาคเครื่องทุ่นแรงส าหรับเตรียมดินและปลูกพชื.พิมพค์ร้ังที่ 1. กรุงเทพฯ:บริษัทส.เอเชียเพรส(1898)จา กดั, 2550. 
อภิชาต อนุกลูอา ไพและคณะ.คู่มือการชลประทานระดบัไร่นา . กรุงเทพฯ:สถาบนั เทคโนโลยแีห่เอเชีย. 2537
กรมวิชาการเกษตร.เทคโนโลยีเครื่องจักรกลการเกษตร.กรุงเทพฯ:โรงพิมพช์ ุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่ง ประเทศไทยจา กดั. มปป. คณาจารย์.เกษตรชลประทาน. ปทุมธานี.ศูนย์ฝึ กวิศวกรรมเกษตร บางพูน, 2518. 
ธีรยุทธ ชัยวงศ์. ปฏิบัติเครื่องยนต์เล็ก. เครื่องยนต์เล็ก. กรุงเทพฯ:นนทบุรี:เจริญรุ่งเรืองการพิมพ,2544. ์ 
ประณต กุลประสูตร. แทรกเตอร์เพื่อการเกษตร1 การใช้ การบริการบ ารุงรักษาและการปรับ. พิมพค์ร้ังที่ 1. กรุงเทพฯ:บริษทัแอคทีฟ พริ้นท์จา กดั,2548. 
วราวุธ วุฒิพาณิชย์.การออกแบบระบบชลประทานในไร่นา. พิมพค์ร้ังที่1 . กรุงเทพฯ:ส านักพิมพ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,2545. 
วิบูลย์ บุญยธโลกุล. หลักการชลประทาน. พิมพค์ร้ังที่1 . กรุงเทพฯ:ห.จ.ก. โรงพิมพ์เอเซีย,2526
นัย บำรุงเวช. เครื่องดำนา.ม.ป.ท.,2546. 
บุญเจิด กาญจนา. การให้น้ำแบบฉีดฝอย. พิษณุโลก:สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตพิษณุโลก, 2545. 
มนตรีค้ำชู.หลักการชลประทานแบบน้ำหยด การออกแบบและการแก้ปัญหา.กรุงเทพฯ:ภาควิชาวิศวกรรม ชลประทาน. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,มปป
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสังเกตการณ์จากพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.4 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน นำเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการเรียนการสอน
ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม