การบูรณาการการเขียนโปรแกรมและเว็บเทคโนโลยี

Integrative Programming and Web Technology

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจการสื่อสารระหว่างระบบสารสนเทศ มาตรฐานการแปลงข้อมูล การบูรณาการการเข้ารหัส มาตรการควบคุมความมั่นคงของซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีของภาษาสคริปท์ การบูรณาการภาษาสคริปต์และฝึกเขียนภาษาโปรแกรมประยุกต์เพื่อสนับสนุนการจัดการและการบริหารองค์กร
ศึกษาการสื่อสารระหว่างระบบสารสนเทศ มาตรฐานการแปลงข้อมูล การบูรณาการการเข้ารหัส มาตรการควบคุมความมั่นคงของซอฟต์แวร์ เทคโนโลยีของภาษาสคริปท์ การบูรณาการภาษาสคริปต์และฝึกเขียนภาษาโปรแกรมประยุกต์เพื่อสนับสนุนการจัดการและการบริหารองค์กร
3.1 วันพุธ เวลา 15.00 - 16.00 น. ห้องสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ โทร 055-298465 ต่อ 1151
3.2  e-mail; amitta@rmutl.ac.th เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม 1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 3.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม
1 BSCCT602 การบูรณาการการเขียนโปรแกรมและเว็บเทคโนโลยี
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2,3.1 สอบกลางภาค 8 35%
2 2.1,2.2,2.8,3.3,3.4 สอบกลางปลายภาค 17 35%
3 1.2,1.7,4.4 การเข้าชั้นเรียน จิตพิสัยและการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน การเคารพกฎข้อคับ ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 4.4 งานที่ได้รับมอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 5%
5 2.8,3.4,4.1,4.4,5.1,5.3 นำเสนองาน,รายงาน 16 15%
- บัญชา ปะลีละเตลัง. พัฒนา Web Application ด้วย JavaScript และ Node.js. บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2564.
- จตุรพัชร์ พัฒนทรงศิวิไล. พัฒนาเว็บแอปพลิเคชั่นด้วย JavaScript. บริษัท ซีเอ็ดยูเคชั่น จำกัด, 2558. 
          เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชา
นักศึกษาประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ด้านวิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการโดย 1.1 แบบประเมินความพึงพอใจการเรียนการสอน โดยฝ่ายวิชาการของมหาวิทยาลัย  1.2 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การพิจารณาผลการเรียนของนักศึกษา 2.2   การพิจารณาผลงานที่มอบหมาย 2.3   การขอรับคำปรึกษาและสังเกตการณ์ของผู้สอน
หลังจากทราบผลการประเมินการสอน จึงมีการปรับปรุงการเรียนการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   รวบรวมปัญหาการเรียนของนักศึกษาและแนวทางแก้ไข โดยพิจารณาจากประเด็นในการประเมินความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษา 3.2   การจัดทำและพัฒนาเอกสารประกอบการสอน  แก้ไข
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์จากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบ และหลังการออกผลการเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้            4.1   มีการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่นักศึกษา เพื่อนำไปพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง            4.2   ให้นักศึกษามีโอกาสตรวจสอบคะแนนก่อนรายงานผลการเรียน
ผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  โดยมีการปรับปรุงเนื้อหา ตัวอย่างที่ใช้ในการเรียนการสอนให้ทันต่อเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป  แก้ไข