ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ

English for Business Communication

เพื่อให้นักศึกษา ฝึกทักษะภาษาอังกฤษที่ใช้ในธุรกิจทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนในการติดต่อธุรกิจ เช่น การใช้โทรศัพท์ติดต่อธุรกิจ การสมัครงาน การสัมภาษณ์งาน และการเขียนจดหมายธุรกิจ เช่น จดหมายสมัครงาน จดหมายสอบถามเป็นต้น 
               เพื่อให้นักศึกษา ฝึกทักษะภาษาอังกฤษที่ใช้ในธุรกิจทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนในการติดต่อธุรกิจ เช่น การใช้โทรศัพท์ติดต่อธุรกิจ การสมัครงาน การสัมภาษณ์งาน และการเขียนจดหมายธุรกิจ เช่น จดหมายสมัครงาน จดหมายสอบถามเป็นต้น  โดยเน้นการเรียนการสอนด้วยภาคทฤษฎีและปฏิบัติ อีกทั้งเพื่อสร้างเสริมสติปัญญาในเชิงวิเคราะห์ สังเคราะห์ และวิจารณ์ได้อย่างเป็นระบบโดยการใช้เทคโนโลยีเพื่อสร้างสรรค์องค์ความรู้ใหม่ อันจะนำไปสู่การเรียนรู้ตลอดชีวิต
ฝึกทักษะภาษาอังกฤษที่ใช้ในธุรกิจทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียนในการติดต่อธุรกิจ เช่น การใช้โทรศัพท์ติดต่อธุรกิจ การสมัครงาน การสัมภาษณ์งาน และการเขียนจดหมายธุรกิจ เช่น จดหมายสมัครงาน จดหมายสอบถามเป็นต้น  Listening, speaking, reading, and writing skills in business English dealing with telephoning, job application, job interview and business letters, e.g. Application letters and inquiries.
-อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล รายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ ทางธุรกิจ มีจิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตต่อตนเองและผู้อื่น มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความเคารพต่อกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
                  มีการจัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม มีการสอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการ หรือ วิชาชีพในเนื้อหารายวิชา รวมทั้งปลูกฝังให้นนักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงเวลา ส่งงานในเวลาที่กำหนดตลอดจน การแต่งกายให้ถูกระเบียบของมหาวิทยาลัย มีการมอบหมายงานกลุ่มเน้นการเป็นผู้นำและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็น
ประเมินการเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม ประเมินจากการเข้าเรียน ตลอดจนการแต่งกายที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย

      4. สังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่มและความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
2.1  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการทฤษฎีและการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสมและพัฒนาความรู้ติดตามความก้าวหน้าทางวิชการได้อย่างต่อเนื่อง
              2.2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้องประยุกต์ใช้ความรู้ทักษะในการวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจ และอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะและสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา และการดำรงชีวิตประจำวัน
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย
จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะของรายวิชาและเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ และเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงาน และนำเสนอหน้าชั้นเรียน รวมถึงการจัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติ ในสภาพแวดล้อมจริงนอกจากนั้นยังใช้การเรียนการสอนในหลากหลาย รูปแบบ โดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎี ควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง และการบรรยาย ในชั้นเรียน ถาม- ตอบ
ทดสอบกลางภาคและปลายภาค การร่วมกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียน การทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติมด้วยตนเอง ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง การฝึกปฏิบัติในการนำเสนอ การแสดงบทบาทสมมติ

      5. รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
3.3 คิดอย่างมีวิจารณญาณและเน้นระบบสร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษาและประสบการณ์ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
ให้นักศึกษาฝึกคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ

      2. ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติผ่านทางบทบาทสมมุติในสถานการณ์จำลอง
แบบฝึกปฏิบัติของนักศึกษา การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาและสื่อสารในบริบทต่างๆ ประเมินจากภาคปฏิบัติ การนำเสนองานเป็นภาษาอังกฤษ บทบาทสมมติการสัมภาษณ์งาน

      4. การทำกิจกรรมในชั้นเรียน การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมุติหรือสถานการณ์จำลอง  
             4.1 มีภาวะความเป็นผู้นำ และผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรรับผิดชอบยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสมและสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้
               4.2 มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่มแสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
               4.5  สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ให้ความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษยสัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชา ให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม  และกระตุ้นให้นักศึกษาเข้าร่วมกลุ่มอย่างสร้างสรรค์

 3. ให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและการอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป
สังเกตการดำเนินกิจกรรม และการเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มในชั้นเรียน พิจารณาจากงานที่ได้รับมอบหมายจากการดำเนินกิจกรรมในกลุ่ม

3. สังเกตพฤติกรรมการทำงานเป็นทีมของนักศึกษา
            5.2 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจโดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้องทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์
            5.3   สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการ ติดต่อสื่อสารการค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงาน ให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้น ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากหัวข้อที่ศึกษา  

3. จัดให้นักศึกษาได้ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย และในการนำเสนองาน
ผลงานของนักศึกษาจากงานที่ได้รับมอบหมาย

     2.  พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ เช่น การนำเสนองานด้วยวาจา และการสัมภาษณ์งานเป็นภาษาอังกฤษ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 2.1 2.2 3.3 4.1 4.2 4.5 5.2 5.3
1 BBABA739 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1,2.2,3.3,5.2,5.3 สอบกลางภาค สอบปฏิบัติ (การนำเสนองาน, การสอบสัมภาษณ์งานเป็นภาษาอังกฤษ) แบบฝึกหัด งานมอบหมาย สอบปลายภาค 9, 17 (ตลอดภาคการศึกษา) 25%, 5%, 5%, 20%, 25%
2 1.1, 1.2, 1.3, 4.1, 4.2, 4.3 การสังเกตพฤติกรรมการเข้าชั้นเรียน การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาขณะปฏิบัติงานกลุ่ม Access+ ตลอดภาคการศึกษา 10% 10%
English for Business Communication (เอกสารประกอบการสอน)
1. Helliwell, M. (2014) Business Plus Level 1 Student's Book: Preparing for the Workplace 1st Edition. Cambridge University Press.
2. Helliwell, M. (2014) Business Plus Level 2 Student's Book: Preparing for the Workplace 1st Edition. Cambridge University Press.
3. Helliwell, M. (2015) Business Plus Level 3 Student's Book: Preparing for the Workplace 1st Edition. Cambridge University Press.
การประเมินผลของรายวิชาโดยนักศึกษากระทำโดย

การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา ให้นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การประเมินตนเองเพื่อพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 ผ่านกิจกรรมการพากษ์ทัวร์ ในโครงการศึกษาดูงานของหลักสูตร
     การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ดังนี้

สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชั้นเรียน ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจในเนื้อหา ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
การปรับปรุงการสอนในรายวิชา กระทำโดย

ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับกับระดับของผู้เรียนทุกปี สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียน และปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้เหมาะสม สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้ง เพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อ ๆ ไป
ในระหว่างการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและงานกลุ่ม โดยตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่ามีการพัฒนาก้าวหน้า หรือไม่มีการพัฒนา จากนั้นแก้ไขโดยการอธิบายทำความเข้าใจกับนักศึกษาทั้งชั้น หรือเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งแจ้งผลคะแนนจากแบบฝึกหัดและคะแนนสอบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
ทบทวนเนื้อหาในบทเรียน โดยเลือกระดับของภาษาให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ ๆ และความน่าสนใจ ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลาย และสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่มผู้เรียน นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น