ศิลปะภาพพิมพ์ 3

Printmaking 3

๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
๑.๑ รู้ความหมายและแนวความคิดของงานภาพพิมพ์ลิโธกราฟ (Lithograph)
๑.๒ เข้าใจกระบวนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะทางด้านรูปแบบและเทคนิควิธีการของศิลปะภาพพิมพ์
ลิโธกราฟ (Lithograph)
๑.๓ สามารถบรรยายเชิงวิชาการ วิเคราะห์ วิจารณ์ ผลงานสร้างสรรค์ในงานภาพพิมพ์ลิโธกราฟ
(Lithograph)
๑.๔ สามารถเข้าใจแนวความคิดและรูปแบบของงานภาพพิมพ์หินในแต่ละเทคนิคทางกระบวนการ
ภาพพิมพ์ลิโธกราฟ (Lithograph)
๑.๕ เห็นคุณค่าของผลงานภาพพิมพ์ลิโธกราฟ (Lithograph)
๑.๖ สามารถสร้างผลงานศิลปะภาพพิมพ์ลิโธกราฟ (Lithograph) ในแนวทางของตนเองและสามารถใช้ใน
การประกอบอาชีพได้
๒.๑ นักศึกษามีความรู้ในด้านแนวความคิด เกี่ยวกับงานภาพพิมพ์ลิโธกราฟ (Lithograph)
๒.๒ นักศึกษามีการบรรยาย วิเคราะห์ วิจารณ์ และเขียนรายงาน ในการสร้างสรรค์เกี่ยวกับงานภาพพิมพ์ ลิโธกราฟ (Lithograph) ในแต่ละประเภทของเทคนิคได้
๒.๓ สามรถเข้าใจบริบททางสังคมที่ส่งผลต่อรูปแบบและแนวความคิดของศิลปินในงานภาพพิมพ์ลิโธกราฟ
(Lithograph)
๒.๔ นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ไปใช้ต่อการปฏิบัติในการสร้างสรรค์ผลงานภาพพิมพ์ลิโธกราฟ
(Lithograph) เพื่อประโยชน์ใช้สอยและประกอบอาชีพในชีวิตของตนเองได้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการสร้างสรรค์ผลงานศิลปะภาพพิมพ์จากกระบวนการภาพพิมพ์ลิโธกราฟ (Lithograph) โดยเน้นความพิเศษเฉพาะของเทคนิคและความคิดสร้างสรรค์
Study and practice in printmaking with lithography. An emphasis is placed on unique techniques and creativity.
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
˜ ข้อ ๑ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม š ข้อ ๒ มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น   ข้อ ๓ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งจรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา สอนให้มีระเบียบวินัย ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
ประเมินจากการตรวจสอบแผนการสอนในเรื่องคุณธรรมจริยธรรมในทุกวิชา ประเมินจากผลการดำเนินงานตามแผนการสอนและประเมินจากการสังเกตพฤติกรรม
  ข้อ ๑ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) ˜ ข้อ ๒ มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ   ข้อ ๓ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) š ข้อ ๔ มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ นอกจากนี้อาจจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
ในด้านต่าง ๆ คือ
๑. การทดสอบย่อย
๒. การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
๓. ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
๔. ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
๕. ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ
๖. ประเมินจากแผนการดำเนินงานศิลปะนิพนธ์ที่นำเสนอ
๗. ประเมินจาการฝึกประสบการณ์หรือฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการณ์
  ข้อ ๑ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) š ข้อ ๒ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์   ข้อ ๓ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน ) š ข้อ ๔ มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
ใช้กรณีศึกษา การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน การปฏิบัติงานของนักศึกษา และการนำเสนองาน
š ข้อ ๑ มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี   ข้อ ๒ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )   ข้อ ๓ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
ข้อ ๑ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
ข้อ ๒ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
ข้อ ๓ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองและสถานการณ์เสมือนจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้นักศึกษาค้นคว้างานที่ต้องอาศัยการประมวล โดยการใช้ตัวเลขเพื่อการจัดการข้อมูลการนำเสนอที่เหมาะสมกับสภาพของผู้สื่อสาร
ประเมินจากความถูกต้องจากการใช้ข้อมูลตัวและเลข การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม ประเมินจากการอธิบาย การนำเสนอ
 

˜ ข้อ ๑ มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ š ข้อ ๒ มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง   ข้อ ๓ ( ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน )
ใช้วิธีการสอน ด้วยวิธีคัดลอกแบบ ทำตามใบงาน และการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
ประเมินตามสภาพจริงโดยประเมินจากการปฏิบัติงานและผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFAVA133 ศิลปะภาพพิมพ์ 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1-15 ฝึกทำแบบทดสอบความรู้ความเข้าใจท้ายคาบ ประเมินจากผลงานตามหัวข้อหน่วยที่ 1,2,3,4 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 1-15 50% 30% 10% 10%
2 1-15 ประเมินจากความเข้าใจในแต่ละบทเรียน จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. กัญญา เจริญศุภกุล,รองศาสตราจารย์.ภาพพิมพ์หิน LITHOGRAPH.กรุงเทพมหานคร:อมรินทร์
    พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่งจำกัด(มหาชน),2550.
2. กัญญา เจริญศุภกุล.ความเป็นไปได้ในการทำภาพพิมพ์หินในประเทศไทย(Possibility of
    Lithograph Making in Thailand).กรุงเทพฯ:บริษัทอมรินทร์พริ้นติ้งกรุ๊ฟ จำกัด,2534.
3. ชลูด นิ่มเสมอ,ศาสตราจารย์เกียรติคุณ.องค์ประกอบของศิลปะ.กรุงเทพมหานคร:อมรินทร์พริ้นติ้ง
    แอนด์พับลิชชิ่งจำกัด (มหาชน),2553.
4. สุชาติ เถาทอง,รองศาสตราจารย์.วาดเส้น.กรุงเทพมหานคร:โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์,2536.
5. อัศนีย์ ชูอรุณ,รองศาสตราจารย์.ความรู้เกี่ยวกับศิลปะภาพพิมพ์.กรุงเทพฯ:โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์,2543.
6. กำจร สุนพงษ์ศรี.สุนทรียศาสตร์ หลักปรัชญาศิลปะ ทฤษฎีศิลป์ ศิลปะวิจารณ์.กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2559.
7. ทวีเดช จิ๋วบาง.เรียนรู้ทฤษฎีสี.กรุงเทพ:สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.2536.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับศิลปะภาพพิมพ์หิน
-  หนังสือศิลปะทั้งในและต่างประเทศ
-  สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซด์
 
-  ผลการเรียนของนักศึกษา
-  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-  การศึกษากระบวนการเรียนการสอนภายในและนอกชั้นเรียน
-  การสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
-  ทวนสอบจากคะแนนงานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
-  ตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการศึกษา
-  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4