ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน

English for Everyday Communication

1.1  เลือกใช้คำศัพท์และสำนวนได้เหมาะสมตามสถานการณ์
1.2  อธิบายและแสดงความคิดเห็นตามสถานการณ์ที่กำหนด
1.3  ประยุกต์ใช้ทักษะฟัง พูด อ่าน เขียนในการสื่อสารตามบริบทต่างๆ
1.4  ใช้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศในการฝึกทักษะทางการเรียนภาษาอังกฤษด้วยตนเอง
 
เพื่อปรับกระบวนการรายวิชาให้สอดคล้องกับคุณสมบัติบัณฑิตนักปฏิบัติอันพึงประสงค์ของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ศึกษาคำศัพท์ สำนวน โครงสร้างภาษาอังกฤษ พัฒนาทักษะการใช้ภาษาอังกฤษด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน เพื่อใช้ในการสื่อสารในชีวิตประจำวัน ในบริบททางสังคมและวัฒนธรรมต่างๆ
Study English vocabulary, expressions, structures. Develop English skills:listening, speaking, reading, and writing in order to communicate in everyday life, social and cultural contexts.
 
-
1.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 
    1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
    1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
    1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
    1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
Lecture
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. การส่งรายงานตรงเวลา
3. ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge)
   2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
    2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
    2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. Lecture
2. Flipped classroom
3. Cooperative Team Learning
4. Jigsaw Reading
5. Brainstorming, 
6. Role play
 
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. แบบฝึกหัด
3. ตอบคำถามปากเปล่า
4. สมมติบทบาท
5. การนำเสนอ
6. การสอบกลางภาคและปลายภาค
 
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 
   3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
   3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. Lecture
2. Flipped classroom
3. Cooperative Team Learning
4. Jigsaw Reading
5. Brainstorming, 
6. Role play
 
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. แบบฝึกหัด
3. ตอบคำถามปากเปล่า
4. สมมติบทบาท
5. การนำเสนอ
6. การสอบกลางภาคและปลายภาค
 
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility)
     4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
     4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
     4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
     4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. Cooperative Team Learning
2. Role play
 
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. สมมติบทบาท
3. การนำเสนอ
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills)
   5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
   5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง
เหมาะสม
   5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. Cooperative Team Learning
2. Jigsaw Reading
3. Brainstorming, 
4. Role play
 
1. การแสดงออกและการมีส่วนร่วม
2. สมมติบทบาท
3. การนำเสนอ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางวิชาชีพกับความรู้ศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ 4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่าง เหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 GEBLC101 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.3 การแสดงออกและการมีส่วนร่วม และตอบคำถามปากเปล่า ทุกสัปดาห์ 10%
2 2.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.3 งานเขียน 7 10%
3 2.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.3 สมมติบทบาท 3 5%
4 2.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.3 การนำเสนองานที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมท้องถิ่นและนานาชาติ 16 10%
5 2.1 ทดสอบกลางภาค 9 20%
6 2.1 การเก้บคะแนนครั้งที่ 1 8 5%
7 2.1 เก็บคะแนนครั้งที่ 2 16 5%
8 2.1 ทดสอบปลายภาค 17 20%
9 2.1, 3.2, 5.3 Online Practice (Oxfordlearning.com) ทุกสัปดาห์ 10%
10 2.1, 3.2, 4.1, 4.2, 4.3, 5.3 งานพูด 11 5%
Wilson, K. (2020). Smart Choice 2 (4th ed.). Oxford University Press.
 
 
บทเรียนออนไลน์จากหนังสือ Smart Choice
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในประมวลรายวิชาและแบบฝึกหัดออนไลน์
 
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
          การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ดำเนินการดังนี้
          1.1 นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง
          1.2 การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา
          1.3 ประเมินผลการสอนโดยใช้ระบบออนไลน์
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
          ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
          2.1 สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน
          2.2 สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน
          2.3 ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจเนื้อหา
          2.4 ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
3. การปรับปรุงการสอน
          การปรับปรุงการสอนในรายวิชา กระทำโดย
          3.1 ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
          3.2 สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียนและปรับปรุงแบบกิจกรรมให้เหมาะสม
          3.3 สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งเพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อๆ ไป
 
4.การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
          ในระหว่างการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและรายงานโดยตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่ามีการพัฒนาก้าวหน้าหรือไม่มี จากนั้นแก้ไขโดยการอธิบาทำความเข้าใจกับนักศึกษาทั้งชั้นหรือเป็นรายบุคคล พร้อมทั้งแจ้งผลคะแนนจากแบบฝึกหัดและคะแนนสอบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
5. การดำเนินการทบทวนและวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
          การวางแผนการปรับปรุงการสอนและเนื้อหาวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
          5.1 ทบทวนเนื้อหาในบทเรียน โดยเลือกระดับของภาษาให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน
          5.2 มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ๆ และตามความน่าสนใจ
          5.3 ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลายและสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่
          หลากหลายของกลุ่มผู้เรียนหรือตามที่ได้ศึกษาวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
          5.4 ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของนักศึกษาและของผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบรายวิชาใน   การประเมินคุณภาพการศึกษาประจำปี