การโปรแกรมคอมพิวเตอร์

Computer Programming

1. เข้าใจขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์
2. เข้าใจการเขียนโครงสร้างของโปรแกรมคอมพิวเตอร์ด้วยภาษาระดับสูงและการใข้คำสั่งพื้นฐาน
3. เข้าใจหลักกการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้างและโปรแกรมย่อย
4. มีทักษะในการเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลแบบโครงสร้าง
5. มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีใน
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิเคราะห์ปัญหาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โครงสร้างของโปรแกรมภาษาระดับสูง และคำสั่งพื้นฐาน หลักการเขียนโปรแกรมแบบโครงสร้าง หลักการเขียนโปรแกรมย่อย หลักการเขียนโปรแกรมโดยใช้ข้อมูลแบบโครงสร้าง ทดสอบและทดลองโปรแกรมที่เขียนขึ้นแก้ปัญหาเมื่อเกิดข้อผิดพลาด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1.1 คู่มือการเขียนโปรแกรมภาษา C ฉบับสมบูรณ์ รศ. ธีรวัฒน์ ประกอบผล
1.2 คู่มือการเขียนโปรแกรมภาษา C++ สุพจน์ สง่ากอง และปิยะ นากสงค์
1.3 คู่มือเขียนโปรแกรมด้วยภาษา Visual C# 2017 ศุภชัย สมพานิช
1.4 การเขียนโปรแกรมด้วย Java สำหรับผู้เริ่มต้น บัญชา ปะสีละเตสัง
1.5 การเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนเบื้องต้น มัณฑนา ปราการสมุทร
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ