นิเวศวิทยาทางน้ำ

Aquatic Ecology

รู้ความเป็นมาของการศึกษานิเวศวิทยาในแหล่งน้ำ เข้าใจระบบห่วงโซ่อาหาร สายใยอาหาร ในระบบนิเวศวิทยาของแหล่งน้ำ ทั้งในน้ำจืด น้ำกร่อย และทะเล เข้าใจกำลังผลิตและปัจจัยที่มีต่อกำลังผลิตในแหล่งน้ำ เข้าใจมลภาวะในแหล่งน้ำและแนวทางการควบคุมสมดุลของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศของแหล่งน้ำ เห็นความสำคัญของการศึกษานิเวศวิทยาทางน้ำ
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเพื่อให้ทันสมัย สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ไปเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ในรายวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปทางด้านนิเวศวิทยาในแหล่งน้ำ ห่วงโซ่และสายใยอาหารในแหล่งน้ำ ทั้งน้ำจืด น้ำกร่อยและทะเล กำลังผลิตของระบบนิเวศในแหล่งน้ำ ระบบนิเวศในแหล่งน้ำ มลภาวะในแหล่งน้ำและแนวทางการควบคุมสมดุลของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศวิทยา
3.1 วันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. สาขาวิชาประมง โทร 0862046622
3.2 e-mail;job6942@gmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
1.1 มีคุณธรรมและ จริยธรรมสาธารณะ 1.2 มีจรรยาบรรณ
การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย โดย - จะสอดแทรกหรือยกตัวอย่างประกอบในขณะสอนเนื้อหา - กำหนดหลักเกณฑ์หรือแนวปฏิบัติให้นักศึกษาต้องถือปฏิบัติในการเรียนรายวิชานี้ เช่น การตรงเวลา การมีวินัยในห้องเรียน รับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย - นักศึกษาต้องไม่ทุจริตในการสอบหรือการลอกการบ้านหรืองานของผู้อื่น - การนำข้อความจากแหล่งความรู้ต่างๆ มาทำรายงานนั้น ต้องมีการอ้างอิงเพื่อ ให้เกียรติแก่เจ้าของความคิด - นักศึกษาต้องรู้จักแบ่งปันความรู้กับเพื่อนนักศึกษาด้วยกัน
 
วิธีการประเมินผล
- นักศึกษาเข้าเรียนตรงเวลา -ความพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร - การทำงานในชั้นเรียนที่ไม่เลือกการปฏิบัติและการไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น - ไม่มีการทุจริตในการสอบ หรือไม่มีการลอกรายงานหรือลอกการบ้าน
 
2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ 2.2 มีความรอบรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
 
การสอนหลากหลายรูปแบบ เน้นหลักการทางทฤษฎีและประยุกต์ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ควรจัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมีการศึกษาดูงาน หรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็นวิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง ตลอดจนการฝึกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
 
- ทดสอบความเข้าใจโดยจะมีการสอบย่อย รวมทั้งวัดความรู้โดยการสอบกลางภาคเรียนและการสอบปลายภาคเรียน - ประเมินจากการอภิปรายในชั้นเรียน และรายงานที่นำส่ง -ประเมินจากรายวิชาฝึกงานหรือสหกิจศึกษา
 
3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ˜ 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธ๊การเรียนรู้
 
-บทบาทสมมติ สถานการณ์จำลอง และกรณีศึกษาทางการเกษตร เพื่อค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจ ประเมินข้อมูลและหลักฐานใหม่ๆจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย -การอภิปรายกลุ่มเพื่อระดมความคิดวิเคราะห์ข้อมูล และประยุกต์ใช้ข้อมูลที่ได้มาหรือเลือกใช้ความรู้ที่เรียนมาแก้ไขโจทย์ปัญหาที่กำหนด
 
- ประเมินจากผลงานการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน -การสัมภาษณ์หรือการสอบปากเปล่า -การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบหรือข้อสอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา
4.1 2 มีภาวะความเป็นผู้นำ

š4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ
 
ใช้การสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมให้มีการทำงานเป็นกลุ่ม การทำงานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่นหรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่นหรือผู้มีประสบการณ์ ดังนี้ สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ -มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย -สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้ -มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป -มีภาวะผู้นำและผู้ตามในการยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น -สามารถวางตนได้เหมาะสมกับกาลเทศะ ขนบธรรมเนียมและแนวทางปฏิบัติเฉพาะของแต่ละวัฒนธรรม
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียนและสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
5.1 มีทักษะการสื่อสาร 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองสถานการณ์เสมือนจริงหรือแก้ไขปัญหาจากกรณีศึกษาหรือในการปฏิบัติงานจริง แล้วนำเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
-ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอและ การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องในการนำเสนอข้อมูล -ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อจำกัดเหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ ประมวลผลและแปลความหมาย -การนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
6.1 มีทักษะทางวิชาชีพ หมายถึง มีทักษะและความเชี่ยวชาญในการปฏิบัติงานตามมาตรฐานวิชาชีพ สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบโดยประยุกต์ใช้ความรู้ที่เรียนมา และพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้ทางวิชาชีพ
 
ใช้การเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ทักษะการปฏิบัติในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ
-ประสิทธิภาพในทักษะการปฏิบัติอย่างความถูกต้อง -ความสามารถในการตัดสินใจแก้ปัญหาเฉพาะหน้า -ความสำเร็จและคุณภาพของผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 มีคุณธรรมและจริยธรรม 2 มีจรรยาบรรณ 2.1 มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ 2.2 มีความรอบรู้ 3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 3.3 ใฝ่รู้และรู้จักวิธีการเรียนรู้ 4.1 ภาวะผู้นำ 4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะ 5.1 มีทักษะการสื่อสาร 5.2 มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.1 ทักษะทางวิชาชีพ
1 BSCAG302 นิเวศวิทยาทางน้ำ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 1.2, 1.3, 1.4, 2.1, 2.2, 2.3 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 10%
2 4.1, 4.2, 4.3, 4.4, 6.1, การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 5 %
3 3.1, 3.2, การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 4,6,10 15%
4 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบกลางภาค 8 25%
5 5.1, 5.2, 5.3 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
6 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2 การสอบปลายภาค 16 25 %
- ธีระ เล็กชลยุทธ.2535. นิเวศวิทยาแหล่งน้ำ.เอกสารเรียบเรียง.คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ.105 น.
- ประมาณ พรหมสุทธิรักษ์.2531.เอกสารคำสอนวิชาชลธีวิทยา.คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.กรุงเทพฯ.190 น.
- R.S.K. Barnes and K.H. Mann.1991.Fundamental of Aquatic Ecology.The University Press, Cambridge.270 pp.
- Michael Jeffries and Derek Mills.1990. Freshwater Ecology.London. 253 pp.
- Kent W.Thornton,Bruce L,Kimmel Forrest,E. Payne.1991.Reservoir Limnology: Ecological perspectives. U.S.A. 283 pp.
- งานวิจัยเรื่อง ชนิดและปริมาณแพลงก์ตอนในบึงราชนก อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
-งานวิจัยเรื่อง ชนิดและปริมาณสัตว์หน้าดินในบึงราชนก อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
-งานวิจัยผลของสารกำจัดศัตรูพืชที่มีต่อปลาและทรัพยากรน้ำในบึงแม่ระหัน ต.บ้านกร่าง อ.เมือง จ. พิษณุโลก
-งานวิจัยการแพร่กระจายของแพลงก์ตอนในแม่น้ำวังทอง จังหวัดพิษณุโลก
เว็บไซด์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในลักษณะรายวิชา เช่น wikipedia คำอธิบายศัพท์
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 การสังเกตพฤติกรรมของผู้เรียน
1.3 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้

2.2 ผลการสอบ
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 ปรับปรุงการสอนตามผลการประเมินผู้สอนเป็นรายวิชา
ระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวัง
จากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา การตรวจผลงานของนักศึกษา พิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา ดังนี้
 

การทวนสอบการให้คะแนนจาการตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น ที่

ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 การตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการ
ปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี