เทคนิคการหาค่าเหมาะที่สุดในทางวิศวกรรมไฟฟ้า

Optimization Technique in Electrical Engineering

1. เข้าใจพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับการหาค่าเหมาะสมที่สุด
2. เข้าใจฟังก์ชันวัตถุประสงค์
3. เข้าใจการหาค่าเหมาะสมที่สุดแบบดีเทอร์มินิสติค สโตคลาสติก แบบจำกัดและไม่มีข้อจำกัด
4. เข้าใจการหาค่าเหมาะสมที่สุดหลายรูปแบบ และแบบหลายวัตถุประสงค์
5. เข้าใจการหาค่าเหมาะสมที่สุดเชิงผสม 
6. ประยุกต์ใช้การหาค่าเหมาะสมที่สุดในทางวิศวกรรมไฟฟ้า
7. เห็นความสำคัญของเทคนิคการหาค่าเหมาะที่สุดในทางวิศวกรรมไฟฟ้า
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมให้สอดคล้องกับปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานทางคณิตศาสตร์สำหรับการหาค่าเหมาะสมที่สุด คำจำกัดความของ ฟังก์ชันวัตถุประสงค์การหาค่าเหมาะสมที่สุดแบบดีเทอร์มินิสติค การหาค่าเหมาะสมที่สุด แบบสโตคลาสติก การหาค่าเหมาะสมที่สุดแบบจำกัดและไม่มีข้อจำกัด การหาค่าเหมาะสม ที่สุดหลายรูปแบบ การหาค่าเหมาะสมที่สุดแบบหลายวัตถุประสงค์การหาค่าเหมาะสมที่สุด เชิงผสม อัลกอริทึมเชิงวิวัฒนาการ ตัวอย่างการหาค่าเหมาะสมที่สุดในทางวิศวกรรมไฟฟ้า
1 ชั่วโมง
2.1.1.1 เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต
2.1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
2.1.1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อ ขัดแย้งตามล าดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและ ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
2.1.1.4 สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อ บุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม
2.1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย มีความ รับผิดชอบในการเข้าชั้นเรียนและส่งงานตรงเวลา นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบ โดยในการทำงานกลุ่มนั้น ต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็นผู้น ากลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีการสอดแทรกความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรมในการเรียนการสอนทุกรายวิชา โดยเน้นการสร้างส านึกในจรรยาบรรณของนักวิจัยทั้งทางวิชาการ และวิชาชีพ มีความซื่อสัตย์โดยไม่กระทำการทุจริตในการสอบ รวมถึงการอ้างอิงข้อมูลในกรณีนำข้อมูลของ ผู้อื่นมาใช้
2.1.3.1 ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรม
2.1.3.2 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
2.1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2.1.3.4 ประเมินจากรายงาน ผลงานวิจัยที่นักศึกษานำเสนอ
2.2.1.1 มีองค์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์เทคโนโลยีและ ภาษา เพื่อการประยุกต์ใช้และแก้ปัญหาในการศึกษา วิจัย สร้าง และใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในงาน วิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า
1 2.2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มาตรฐาน หลักการ และทฤษฎีที่ส าคัญทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อพัฒนาวิชาการ วิจัย การประยุกต์ใช้ สร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรม และติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2.2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้ากับ ความรู้ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2.2.1.4 สามารถวิเคราะห์และแก้ปัญหาทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า ด้วยวิธีการที่เหมาะสม
2.2.1.5 สามารถใช้ความรู้และทักษะทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้าใน การประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริง น าไปสู่การยกระดับภาคประกอบการ ชุมชน สังคม และประเทศ
ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และประยุกต์ ทางปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง โดยทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามลักษณะของ รายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เสนอผลงานวิจัยในการประชุม วิชาการต่างๆ และเสนอบทความในวารสารทางวิชาการทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ นอกจากนี้ควร จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผู้เชี่ยวชาญที่มีประสบการณ์ตรงมาเป็น วิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่อง
2.2.3.1 การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคและปลายภาค
2.2.3.2 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดท าตามที่ได้รับมอบหมาย
2.2.3.3 ประเมินจากโครงการที่นำเสนอ
2.2.3.4 ประเมินจากการนำเสนองาน และงานวิจัย
2.2.3.5 การสอบวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ
2.3.1.1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดีและเป็นระบบ
2.3.1.2 สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประเมินประเด็นความส าคัญและที่มาของปัญหา ที่ใช้ในการศึกษา วิจัย สร้าง ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในงานวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า
2.3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์แยกแยะ และแก้ปัญหาทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพ วิศวกรรมไฟฟ้าได้อย่างเป็นระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการท างานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
2 2.3.1.4 มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี และวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้าอย่างเหมาะสม ในการพัฒนาแนวคิดริเริ่มหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้ อย่างสร้างสรรค์
2.3.1.5 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ 
2.3.2.1 กรณีศึกษาทางการประยุกต์ในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า 2.3.2.2 การอภิปรายกลุ่ม หรือการศึกษา ค้นคว้า รายงานทางเอกสารและรายงาน หน้าชั้นเรียน 2.3.2.3 ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เสนอผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการต่างๆ และเสนอ บทความในวารสารทางวิชาการทั้งระดับชาติและระดับนานาชาติ
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาที่เกิดจากการใช้ กระบวนการแก้ไขปัญหา การศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ การวิเคราะห์วิจารณ์ เช่น รายงานการนำเสนอ ในชั้นเรียน รายงานผลการอภิปรายกลุ่ม การสัมมนา และการวิเคราะห์วิจารณ์ผลงานทางวิทยานิพนธ์และ การค้นคว้าอิสระ รวมถึงการประเมินผลจากการสอบ
2.4.1.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและ ภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิผล สามารถใช้ความรู้ในสาขาวิชาชีพมาสื่อสารต่อสังคม และสามารถ แสดงความคิดเห็นทางวิชาการอย่างสร้างสรรค์
2.4.1.2 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์เชิงสร้างสรรค์พร้อม ทั้งแสดงจุดยืนอย่างเหมาะสมทั้งของตนเองและของกลุ่ม รวมทั้งให้ความช่วยเหลือและอ านวยความสะดวก ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ บนพื้นฐานของการศึกษาและวิจัย
2.4.1.3 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ การศึกษาและวิจัย การสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ทั้งของตนเองและของกลุ่ม 2.4.1.4 รู้จักบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบในการท างานตามที่ได้รับมอบหมาย ทั้งของตนเองและของกลุ่ม สามารถปรับตัวและท างานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้น าและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบ
2.4.1.5 มีจิตส านึกและความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการ รักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม นำไปสู่การยกระดับภาคประกอบการ ชุมชน สังคม และประเทศอย่างยั่งยืน
ใช้การสอนที่มีการก าหนดกิจกรรมให้มีการท างานเป็นกลุ่ม การท างานที่ต้องประสานงาน กับผู้อื่นข้ามหลักสูตร หรือผู้มีประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมการแสดงบทบาทของการเป็นผู้น าและผู้ตาม โดยมี ความคาดหวังในผลการเรียนรู้ดังนี้
2.4.2.1 สามารถท างานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
2.4.2.2 มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
2.4.2.3 สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็น อย่างดี
2.4.2.4 มีภาวะผู้น า มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
2.4.2.5 ส่งเสริมการเคารพสิทธิและการรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
2.4.2.6 ส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมการน าเสนอผลงานวิจัยในที่ประชุมวิชาการต่างๆ
2.4.3.1 ประเมินพฤติกรรมภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
2.4.3.2 ติดตามการทำงานร่วมกับสมาชิกกลุ่มของนักศึกษาเป็นระยะ พร้อมบันทึก พฤติกรรมเป็นรายบุคคล
2.4.3.3 ประเมินจากผลงานการอภิปรายและเสวนา
2.4.3.4 สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง
2.4.3.5 ใช้กลไกการประเมินตนเอง เพื่อนประเมินเพื่อน
2.5.1.1 มีความชำนาญในการใช้คอมพิวเตอร์ในการศึกษาและวิจัย และการสร้าง เทคโนโลยีและนวัตกรรม และวิชาชีพ
2.5.1.2 มีความชำนาญในการวิเคราะห์ตัวแบบทางกายภาพ การวิเคราะห์เชิงตัวเลข การวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์และสถิติด้วยเครื่องมือเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ใน การศึกษาและวิจัย การสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรม และวิชาชีพ
2.5.1.3 มีความชำนาญในการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารที่ ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
2.5.1.4 มีความช านาญในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน การสื่อความหมาย โดยใช้สัญลักษณ์ วีดีทัศน์ และอุปกรณ์เทคโนโลยีที่สัมพันธ์กับอุตสาหกรรม 4.0
4 2.5.1.5 มีความชำนาญในการใช้เครื่องมือคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม ใน การศึกษาและวิจัย การสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรม และประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง
2.5.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์ จำลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และน าเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์ที่สามารถประยุกต์ใช้ในห้องปฏิบัติการ
2.5.2.2 ส่งเสริมการค้นคว้า เรียบเรียงข้อมูล และนำเสนอให้ผู้อื่นเข้าใจได้ถูกต้อง และ ให้ความสำคัญในการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
2.5.3.1 ประเมินจากเทคนิคการน าเสนอโดยใช้ทฤษฎีการเลือกใช้เครื่องมือทาง เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติที่เกี่ยวข้องทางวิศวกรรมศาสตร์
2.5.3.2 ประเมินจากความสามารถในการอธิบายถึงข้อจ ากัด เหตุผลในการเลือกใช้ เครื่องมือต่างๆ การอภิปราย กรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการน าเสนอต่อชั้นเรียน
2.5.3.3 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษาด้านความมีเหตุผลและมีการบันทึกเป็นระยะ
2.6.1.1 มีความช านาญในการบริหารจัดการองค์กร งบประมาณ เครื่องมือและอุปกรณ์ เวลาและวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2.6.1.2 มีความช านาญในการวิเคราะห์ปัญหา วางแผน ออกแบบ สร้างและพัฒนา ทดสอบและวิเคราะห์ และปรับปรุงแก้ไขงานทางวิศวกรรมไฟฟ้า น าไปสู่การเป็นมหาบัณฑิตนักปฏิบัติและ การยกระดับภาคประกอบการ ชุมชน สังคม และประเทศ
2.6.2.1 สร้างทักษะในการปฏิบัติงาน
2.6.2.2 สาธิตการปฏิบัติการโดยผู้เชี่ยวชาญ
2.6.2.3 สนับสนุนการเข้าร่วมกิจกรรมทางวิศวกรรมไฟฟ้ากับหน่วยงานภายในและ ภายนอก
2.6.2.4 จัดนิทรรศการแสดงผลงานของนักศึกษา
2.6.2.5 สนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสร
2.6.3.1 มีการประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
2.6.3.2 มีการใช้งานวิจัยของอาจารย์ประกอบการเรียนการสอน
2.6.3.3 มีการประเมินผลการทำงานในภาคปฏิบัติ
2.6.3.4 มีการประเมินวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระของนักศึกษา
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและ ข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมต่อ บุคคล องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน มีองค์ความรู้ทางคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์เทคโนโลยีและ ภาษา เพื่อการประยุกต์ใช้และแก้ปัญหาในการศึกษา วิจัย สร้าง และใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในงาน วิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ มาตรฐาน หลักการ และทฤษฎีที่ส าคัญทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า เพื่อพัฒนาวิชาการ วิจัย การประยุกต์ใช้ สร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรม และติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง สามารถบูรณาการความรู้ทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้ากับ ความรู้ในศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง สามารถวิเคราะห์และแก้ปัญหาทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า ด้วยวิธีการที่เหมาะสม สามารถใช้ความรู้และทักษะทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้าใน การประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริง น าไปสู่การยกระดับภาคประกอบการ ชุมชน สังคม และประเทศ สามารถสืบค้น วิเคราะห์ และประเมินประเด็นความส าคัญและที่มาของปัญหา ที่ใช้ในการศึกษา วิจัย สร้าง ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในงานวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า สามารถคิด วิเคราะห์แยกแยะ และแก้ปัญหาทางด้านเทคโนโลยีและวิชาชีพ วิศวกรรมไฟฟ้าได้อย่างเป็นระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการท างานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ทางด้านเทคโนโลยี และวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้าอย่างเหมาะสม ในการพัฒนาแนวคิดริเริ่มหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้ อย่างสร้างสรรค์ สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง เพื่อการเรียนรู้ ตลอดชีวิต และทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ การศึกษาและวิจัย การสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรมอย่างต่อเนื่อง ทั้งของตนเองและของกลุ่ม รู้จักบทบาท หน้าที่และความรับผิดชอบในการท างานตามที่ได้รับมอบหมาย ทั้งของตนเองและของกลุ่ม สามารถปรับตัวและท างานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้น าและผู้ตามได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับหน้าที่และความรับผิดชอบ มีจิตส านึกและความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการท างาน และการ รักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม น าไปสู่การยกระดับภาคประกอบการ ชุมชน สังคม และประเทศอย่างยั่งยืน มีความช านาญในการใช้คอมพิวเตอร์ในการศึกษาและวิจัย และการสร้าง เทคโนโลยีและนวัตกรรม และวิชาชีพ มีความช านาญในการวิเคราะห์ตัวแบบทางกายภาพ การวิเคราะห์เชิงตัวเลข การวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์และสถิติด้วยเครื่องมือเทคโนโลยีทางคอมพิวเตอร์ใน การศึกษาและวิจัย การสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรม และวิชาชีพ มีความช านาญในการใช้เครื่องมือค านวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม ใน การศึกษาและวิจัย การสร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรม และประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมที่เกี่ยวข้อง
1 MENEE603 เทคนิคการหาค่าเหมาะที่สุดในทางวิศวกรรมไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
J. J. Grainger and W. D. Stevenson.  Power System Analysis.  New Jersey : McGraw-Hill, c1994.
A. J. Wood and B. F. Wollenberg,  Power generation,  operation, and control.  2nd ed. New York : John Wiley & Sons, 1996.
Charles A. Gross.  Power System Analysis. New York : John Wiley & Sons, c1996.
W. D. Stevenson.  Element of Power System Analysis. New Jersey : McGraw-Hill, c1982.
R. K. Sundaram. A First Course in Optimization Theory. Cambridge University Press, 1996.
J. M. Borwein and A. S. Lewis. Convex Analysis and Nonlinear Optimization - Theory and Examples. 1999.
D.P. Bertsekas. Convex Analysis and Optimization. Athena Scientific. 2003.
S.S.Rao. Engineering Optimization Theory and Practice 4th Edition. John Wiley & Sons, 2009.
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา  แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ.กำหนดทุกภาคการศึกษา  ภาควิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน  และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทำวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ 1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งภาควิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา  โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของภาควิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าภาควิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป