การตลาดระหว่างประเทศ

International Marketing

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจบทบาทและความสำคัญของการตลาดระหว่างประเทศ แนวความคิดการทำการค้าระหว่างประเทศ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตลาดระหว่างประเทศ ลักษณะและประเภทของการตลาดระหว่างประเทศ กระบวนการการตลาดระหว่างประเทศ กลยุทธ์การจัดส่วนประสมการตลาดระหว่างประเทศ การใช้ข้อมูลทางการตลาดระหว่างประเทศ
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจบทบาทและความสำคัญของการตลาดระหว่างประเทศ แนวความคิดการทำการค้าระหว่างประเทศ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตลาดระหว่างประเทศ ลักษณะและประเภทของการตลาดระหว่างประเทศ กระบวนการการตลาดระหว่างประเทศ กลยุทธ์การจัดส่วนประสมการตลาดระหว่างประเทศ การใช้ข้อมูลทางการตลาดระหว่างประเทศ และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการตัดสินใจทางการตลาดเพื่อเพิ่มความสามารถในการทำกำไรได้
ศึกษาบทบาทและความสำคัญของการตลาดระหว่างประเทศ แนวความคิดการทำการค้าระหว่างประเทศ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตลาดระหว่างประเทศ ลักษณะและประเภทของการตลาดระหว่างประเทศ กระบวนการการตลาดระหว่างประเทศ กลยุทธ์การจัดส่วนประสมการตลาดระหว่างประเทศ การใช้ข้อมูลทางการตลาดระหว่างประเทศ
 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ สอนเสริมเป็นรายบุคคล (เฉพาะรายที่ต้องการเพิ่มเติม)
บัณฑิตมีภาวะผู้นำ มีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต มีทักษะในการทำงานเป็นทีม สามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพ เป็นผู้มีคุณธรรมและจริยธรรม ซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ดำรงความเป็นไทย มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะทั้งต่อตนเอง องค์กร สังคม และสิ่งแวดล้อม รวมถึงสังคมข้ามวัฒนธรรม
ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวางและเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
.  จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน
ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน                     การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
บัณฑิตมีความรอบรู้ สามารถสืบค้นข้อมูล และข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและสามารถประเมินข้อมูล แนวคิด และหลักฐานใหม่ ๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการใช้งานตามสถานการณ์จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย สามารถประยุกต์ใช้ความรู้จากทฤษฎีและประสบการณ์เพื่อคิด วิเคราะห์ และสังเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ แก้ไขปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการแก้ไขได้อย่างมีเหตุผล
การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
.  ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน
บัณฑิตมีความใฝ่รู้ มีความสามารถในการติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการอย่าง                        ต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาตนเองและอาชีพ สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ สามารถประยุกต์ สามารถสรุปประเด็นปัญหา และบูรณาการความรู้สู่การปฏิบัติ สามารถช่วยและเอื้อต่อการแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสมบนพื้นฐานของตนเองและของกลุ่ม เข้าใจการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบของเทคโนโลยี
มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
งานที่มอบหมายต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคลอื่นๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา
บัณฑิตมีความรู้ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่ศึกษามีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพอย่างกว้างขวาง และเป็นระบบ สามารถเรียนรู้หลักการและทฤษฎีทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม สามารถเรียนรู้และประยุกต์ใช้หลักการตามศาสตร์ที่ศึกษา และบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาชีพ สามารถแข่งขันได้ในระดับสากล รวมทั้งมีทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร ภาษา และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ สามารถเลือกใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสม เพื่อพัฒนาตนเอง สังคม และชุมชน
ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ               ในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้
.  พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา              การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
บัณฑิตแสดงออกถึงทักษะในการนำความรู้มาบูรณาการกับการปฏิบัติได้อย่างต่อเนื่องและเที่ยงตรง มีทักษะในการคิด วิเคราะห์ การประยุกต์ใช้องค์ความรู้มาแก้ไขปัญหา เพื่อพัฒนาตนเอง องค์กร ชุมชนและสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน และสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม
จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผล                          การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1 5.1.1 การทดสอบ - การสอบกลางภาค - การสอบปลายภาค 7 15 30% 40%
2 2.1.2 , 3.1.1 3.1.2 , 4.1.1 4.1.2 , 5.1.3 6.1.1 วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และการนำเสนอ - งานที่มอบหมาย / รายงาน (กลุ่ม) - แบบฝึกหัด / กรณีศึกษา (เดี่ยว, กลุ่ม) - การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน (กลุ่ม) ตลอดภาคการศึกษา 20%
กตัญญู หิรัญญสมบูรณ์. การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : 2543.
กิตติ ภัคดีวัฒนะกุล และ ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ. คัมภีร์การพาณิชย์อิเลคทรอนิกส์. กรุงเทพฯ : เคทีพี, 2547.
ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร. การจัดการระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร. การบริหารธุรกิจระหว่างประเทศ ทฤษฎีและกลยุทธ์ทางการบริหาร. กรุงเทพฯ :  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
ชาติ กิตติคุณาภรณ์. คู่มือการส่งออก (ภาคปฏิบัติ). กรุงเทพฯ : ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2542.
ฐาปนา ฉิ่นไพศาล. การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : ยงพลเทรดดิ้ง.
ทองแถม นาถจำนง. วิกฤติการณ์ยุค IMF กับอนาคตของชาติไทย. กรุงเทพฯ : มิ่งมิตร, 2541
ทวีศักดิ์ กาญจนสุวรรณ. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพฯ : ไทยเจริญการพิมพ์, 2552.
นันทสารี สุขโต. การตลาดระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2546.
นิตยสาร BrandAge, www.brandage.com
นันทนา สุขโต. การตลาดระดับโลก. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2547.
ศศิวิมล สุขบท. การตลาดระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546.
สุดาพร กุณฑลบุตร. การตลาดระหว่างประเทศ. ฉบับปรับปรุงใหม่. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554.
สมพงษ์ เฟื่องอารมณ์. ธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
สุเมธ เลิศจริยพร. การเรียนรู้วิธีดำเนินธุรกิจนำเข้าส่งออกครบวงจร. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์    มหาวิทยาลัย, 2550.
สันติธร ภูริภัคดี และคณะ. การตลาดระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : Mc Graw Hill, 2550.
อภิรัฐ  ตั้งกระจ่าง.  การตลาดระหว่างประเทศ. ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : 2546
อัควรรณ์  แสงวิภาค.  การตลาดระหว่างประเทศ. กรุงเทพฯ : รุ่งเรืองสาสน์การพิมพ์, 2547.
เอกสารการสอนชุดวิชา การตลาดระหว่างประเทศ. หน่วยที่ 1-15. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช .
          พิมพ์ครั้งที่ 6. นนทบุรี, 2544.
เอกสารการสอนชุดวิชา การจัดการธุรกิจระหว่างประเทศ. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี, 2538.
Allan A., and Christopher L.T. (2003). Internet Business Models and Strategies, Second Edition, McGraw-Hill.
Ball, D.A. et al., (2003). International Business: The Challenge of Global Competition. (8Th Ed.) McGraw-Hill Irwin.
Ball, A.D., McCulloch, H.W., Geringer, J.M., Minor, S.M., and McNett, M.J. (2008). International Business: The Challenge of Global Competition (11 Ed.) Boston McGraw-Hill
Bharat B. (2003). Electronic Commerce (Framework, Technologies and Application), Tata McGraw-Hill.                                                                                  
Burton, F.N. and Schlegelmilch, B.B. (1987). Profile Analyses of Non-Exporters versus
Exporter Grouped by Export Involvement. Management International Review, 27(First Quarter) p 38-49
Casmir, F.L. (1997). Ethics in Intercultural and International. London: Lawrence Erlbaum
Cateora. P.R. and Graham, J.L. (2002). International Marketing. (11th Ed.) Boston: McGrawhill
Craig, C.S. and Douglas, S.P. (1995). Global Marketing Strategy. New York: McGraw-Hill.
Czinkota, M.R. and Ronkainen, I.A. (2002). International Marketing Texas: Harcourt Inc.
Hatch, E. (1983). Culture and Morality. New York: Columbia University Press.
Jaska, J., and Pritchard, M. (1988). Communication Ethics. Belmont Wadsworth.
Jeannet, J.P., and Hennessey, D.H. (1998). Global Marketing Strategies (4th Ed.) New York: Houghton Mifflin Co.
Johansson, K.J. (2006). Global Marketing: Foreign Entry, Local Marketing & Global Management (4th Ed.) Boston: McGraw-Hill.
Kale, D.W. (1991). Ethics in Inetrcultural Communication. In L.A.Samovar, & R.E.Porter (Eds), Intercultural. Communication: a reader, (6th Ed.) (pp. 421-426). Belmont: Wadsworth.
Kotabe, M., and Helson, K. (1998). Global Marketing Management. New York: John Wiley & Son.
Kotler, P.H. (1991). Marketing Management Analysis, Planning and Control (8th Ed.) NJ: Englewood Cliffs.
Levy, S. (2004). iPod Nation. Newseek, July 26, pp. 42-50
Macer, D.R.J. (1984). Bioethucs for the people by the people. Christchurch: Eubios Ethics Institute.
Michael, R.C. and IIkka A.R. (1998). International Marketing (5th Ed.) Forth Worth, TX: Harcourt Brace & Company.
Phillip R.C. and John L.G. (2007). International Marketing. Mcgraw-Hill International Enterprises, Ins.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

  การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้โดยนักศึกษา หรือ   การประเมินการสอนโดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบมหาวิทยาลัย) หรือ

  การเขียนสะท้อนความคิดเห็น ข้อเสนอแนะจากนักศึกษา หลังจบบทเรียนในรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1  การประเมินตนเองหลังการสอน และการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้งโดยผู้สอน หรือ
2.2  การประเมินตนเองหลังการสอน จากผลการเรียนของนักศึกษา พิจารณาจากคะแนนสอบ รายงานหรือโครงการที่ได้รับมอบหมาย
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1  การประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Knowledge Management) ร่วมกันระหว่างผู้สอน เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
3.2  พัฒนาความรู้ความสามารถด้านการสอน โดยการอบรมสัมมนา
การทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา โดยการแต่งตั้งกรรมการผู้รับผิดชอบ กรรมการบริหารหลักสูตร และกรรมการสาขาวิชาในสาขาวิชา เป็นผู้ดำเนินการ ดังนี้
4.1  การประเมินตามผลลัพธ์การเรียนรู้ โดยนักศึกษา
4.2  การประเมินการสอน โดยนักศึกษา (ประเมินผ่านระบบของมหาวิทยาลัย)
4.3 การวิเคราะห์ความสอดคล้อง/เกณฑ์การประเมิน ตาม มคอ. 3/ มคอ. 5 โดยคณะกรรมการทวนสอบ
4.4  การประเมินข้อสอบ  การปฏิบัติงาน และรายงานโครงการ การให้คะแนน ที่มาของเกรด โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หรือสาขาวิชา
จากผลการประเมิน และการทวนสอบผลสัมฤทธิ์รายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1  รายงานผลการทวนสอบฯ ต่อคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร/สาขาวิชา
5.2  นำผลการทวนสอบฯ ไปรายงานใน มคอ.5 และจัดทำแผนปรับปรุง มคอ.3 ในครั้งต่อไป โดยอาจารย์ผู้สอน
5.3  นำผลการทวนสอบไปปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร โดยหัวหน้าหลักสูตร