การออกแบบแม่พิมพ์โลหะ

Punch and Die Design

            ให้นักศึกษา รู้จักแม่พิมพ์ปั๊มขึ้นรูปโลหะประเภทต่างๆ  เข้าใจหลักการการกำหนดขั้นตอนและหลักการทำงานของแม่พิมพ์   มีทักษะการวางแผนการออกแบบแม่พิมพ์   มีทักษะคำนวณแรงที่ใช้ในการขึ้นรูปและการตัดเจาะ  มีทักษะในการเลือกใช้วัสดุและชิ้นส่วนมาตรฐานเพื่อสร้างชุดแม่พิมพ์กดตัด   มีทักษะในการเลือกใช้เครื่องปั๊ม    มีทักษะในการบำรุงรักษาแม่พิมพ์    มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย  
         เพื่อให้นักศึกษา รู้จักแม่พิมพ์ปั๊มขึ้นรูปโลหะประเภทต่างๆ  เข้าใจหลักการการกำหนดขั้นตอนและหลักการทำงานของแม่พิมพ์   มีทักษะการวางแผนการออกแบบแม่พิมพ์   มีทักษะคำนวณแรงที่ใช้ในการขึ้นรูปและการตัดเจาะ  มีทักษะในการเลือกใช้วัสดุและชิ้นส่วนมาตรฐานเพื่อสร้างชุดแม่พิมพ์กดตัด   มีทักษะในการเลือกใช้เครื่องปั๊ม    มีทักษะในการบำรุงรักษาแม่พิมพ์    มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
        ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับแม่พิมพ์โลหะ  แม่พิมพ์การตัดและแม่พิมพ์กดอัดขึ้นรูป  แม่พิมพ์ต่อเนื่องและวัสดุทำแม่พิมพ์  ปฏิกิริยาการกดตัด  การออกแบบแม่พิมพ์ต่อเนื่อง  การออกแบบแผ่นพิมพ์เมีย  การออกแบบพิมพ์ผู้และชุดพิมพ์ผู้  การออกแบบชุดพิมพ์เมีย  การคำนวณหาจุดศูนย์ถ่วงแรงกดตัด  ชิ้นส่วนมาตรฐานของชุดแม่พิมพ์โลหะ  การอบชุบชิ้นส่วนของชุดแม่พิมพ์  เครื่องกดอัดและอุปกรณ์ป้อนแผ่นงาน  ปฏิบัติการออกแบบและสร้างแม่พิมพ์กดตัดและใช้แม่พิมพ์กดตัดแผ่นงานให้ได้ชิ้นงานและพิจารณาชิ้นงานที่กดตัดได้
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษา  ในช่วงเลิกเรียนแต่ละครั้ง
 -  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย  มีความรับผิดชอบต่องานที่มอบหมาย  โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
                  1.ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
                  2. มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม
                  3.เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
                  4. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ
1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
          มีความรู้ในเรื่องที่เกี่ยวกับ  แม่พิมพ์โลหะ  แม่พิมพ์การตัดและแม่พิมพ์กดอัดขึ้นรูป  แม่พิมพ์ต่อเนื่องและวัสดุทำแม่พิมพ์  ปฏิกิริยาการกดตัด  การออกแบบแม่พิมพ์ต่อเนื่อง  การออกแบบแผ่นพิมพ์เมีย  การออกแบบพิมพ์ผู้และชุดพิมพ์ผู้  การออกแบบชุดพิมพ์เมีย  การคำนวณหาจุดศูนย์ถ่วงแรงกดตัด  ชิ้นส่วนมาตรฐานของชุดแม่พิมพ์โลหะ  การอบชุบชิ้นส่วนของชุดแม่พิมพ์  เครื่องกดอัดและอุปกรณ์ป้อนแผ่นงาน  ปฏิบัติการออกแบบและสร้างแม่พิมพ์กดตัดและใช้แม่พิมพ์กดตัดแผ่นงานให้ได้ชิ้นงานและพิจารณาชิ้นงานที่กดตัดได้
      บรรยาย ในชั่วโมงทฤษฏี    งานปฏิบัติ ให้นักศึกษา ฝึก ออกแบบ และสร้างแม่พิมพ์ปั๊มขึ้นรูปโลหะ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและงานปฏิบัติ
2. ประเมินจากงานที่มอบหมาย
          พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากการใช้เทคโนโลยี
1.  การมอบให้นักศึกษาทำโครงงานพิเศษที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
2.   อภิปรายกลุ่ม
3.   วิเคราะห์กรณีศึกษา  งานออกแบบและสร้าง ชุดแม่พิมพ์ปั๊มขึ้นรูปโลหะ
4.  การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
1.  วัดผลจากการประเมิน การสอนงานปฏิบัติ และชิ้นงานที่นักศึกษาผลิต
2.   สังเกตพฤติกรรมการ ฝึกสอนงานปฏิบัติ และชิ้นงานที่ผลิตได้
1. พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
2.  พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
3.   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
3.  การนำเสนอรายงาน
1.  ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
2.  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3.   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1. ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
2. พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
3. พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
4. พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5. ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ทำชุดการสอน
2. นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
1. มีทักษะในการออกแบบ สร้างแม่พิมพ์ปั๊มขึ้นรูปโลหะได้อย่างมีประสิทธิภาพ

                   2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
กำหนดให้นักศึกษา ออกแบบและสร้างแม่พิมพ์ โดยทำงานเป็นกลุ่ม
ตรวจสอบ ชุดแม่พิมพ์ที่มอบหมายให้ นักศึกษาออกแบบและสร้าง และกดตัดชิ้นงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 3 2 3 4 5 1 3 4 5 3 4 5 1 2
1 ENGTD109 การออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรู้ในเรื่องที่เกี่ยวกับ แม่พิมพ์โลหะ แม่พิมพ์การตัดและแม่พิมพ์กดอัดขึ้นรูป แม่พิมพ์ต่อเนื่องและวัสดุทำแม่พิมพ์ ปฏิกิริยาการกดตัด การออกแบบแม่พิมพ์ต่อเนื่อง การออกแบบแผ่นพิมพ์เมีย การออกแบบพิมพ์ผู้และชุดพิมพ์ผู้ การออกแบบชุดพิมพ์เมีย การคำนวณหาจุดศูนย์ถ่วงแรงกดตัด ชิ้นส่วนมาตรฐานของชุดแม่พิมพ์โลหะ การอบชุบชิ้นส่วนของชุดแม่พิมพ์ เครื่องกดอัดและอุปกรณ์ป้อนแผ่นงาน ปฏิบัติการออกแบบและสร้างแม่พิมพ์กดตัดและใช้แม่พิมพ์กดตัดแผ่นงานให้ได้ชิ้นงานและพิจารณาชิ้นงานที่กดตัดได้ 1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและงานปฏิบัติ 2. ประเมินจากงานที่มอบหมาย 9 , 1ึ7 และตลอดภาคการศึกษา 20 %
2 1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต 2. มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม 3. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 4. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1. พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา 2. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตลอดภาคการศึกษา 20 %
3 1. มีทักษะในการออกแบบ สร้างแม่พิมพ์ปั๊มขึ้นรูปโลหะได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี ตรวจสอบ ชุดแม่พิมพ์ที่มอบหมายให้ นักศึกษาออกแบบและสร้าง และกดตัดชิ้นงาน ตลอดภาคการศึกษา 60 %
1)  เกษม  เลิศรัตน์,  มัทสึโอะ  มิยากาวา.   การทำแม่พิมพ์อัดโลหะ.   กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์คุรุสภา,  2527  2) ชาญชัย  ทรัพยากร, ประสิทธิ์  สวัสดิสรรพ์   และวิรุฬ   ประเสริฐวรนันท์.  การออกแบบแม่พิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 19 . กรุงเทพมหานคร:ห้างหุ้นส่วนจำกัด ภาพพิมพ์, 2549  3) บรรเลง    ศรนิล  รศ., ประเสริฐ   ก๊วยสมบูรณ์ ผศ. .  ตารางงานโลหะ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ,  2537           4) มณฑา    ผุดฉวี.  เอกสารประกอบการเรียน Basic  Die Making. กรุงเทพมหานคร :โรงพิมพ์สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์  5) สุวิช    มาเทศน์.  เอกสารประกอบการเรียน การทำแม่พิมพ์.  เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยโนโลยีราชมงคลล้านนา  ภาคพายัพ,  ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์  6) อินเตอร์ทูล บริษัท จำกัด. ชิ้นส่วนมาตรฐานแม่พิมพ์ปั๊มโลหะ.  สมุทรปราการ : 2549   7) Herman W.  Pollack .  Tool   Design.  Second Edition. Virginia : Reston   Publishing   Company, 1998  8)  Serope Kalpakjian,   Steven  R.  Schmid .    Manufacturing Engineering and  Technology.  Fourth   Edition.  New York : Addison - Welsley   Publishing                       Company, 2000 
9) Timings     R.L.  Manufacturing  Technology. Third Edition.  London : Longman   Group   Limited,  1995
ไม่มี 
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์ ,แม่พิมพ์ปั๊มขึ้นรูปโลหะ , Punch and Die , Metal Forming 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  1.  การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน  2.  ผลการเรียนของนักศึกษา  3.  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้  1.   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน  2.   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้          1.  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร          2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม  แก้ไข
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  1.   ปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  2.   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ