โครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ

Information Technology Project

เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ  ดังนี้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจ  และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนาโปรแกรมทางคอมพิวเตอร์ได้
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาให้ทันสมัย และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตปัจจุบันได้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
ปฏิบัติการโครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ ประกอบด้วยการนำเสนอโครงงาน การศึกษาความเป็นไปได้ ทรัพย์สินทางปัญญา ค้นคว้างานวิจัยที่เกี่ยวข้อง  ออกแบบ  พัฒนาโปรแกรม  และทดสอบรวมทั้งจัดทำรายงานและนำเสนอผลงานต่อคณะกรรมการ การวัดผลสัมฤทธิ์ ในรายวิชาเป็น S และ U
    3.1 อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านป้ายประกาศและเว็บไซต์ Facebook หลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ

    3.2  อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาผ่าน email: kacharin@rmutl.ac.th

    3.3  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหลังเลิกเรียนทุกวันพุธ เวลา 15.00 น. ถึง 17.00 น.  
.  ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) š1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต ˜1.2 มีวินัยตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพและสังคม ˜1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ š1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ ˜1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม š1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม ˜1.7 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 
1.          ให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่ม โดยมีการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบให้แต่ละบุคคลในกลุ่มรับผิดชอบอย่างชัดเจน 2.          ให้นักศึกษามีการอภิปรายร่วมทั้งกลุ่มเรียนหลังจากการค้นหาข้อมูลกลุ่มย่อยแล้ว เพื่อสรุปปัญหาและแนวทางแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 3.          ให้นักศึกษารู้จักวิเคราะห์หาทางแก้ปัญหา จากโจทย์ปัญหาหรือกรณีตัวอย่างที่อาจารย์สร้างขึ้น 4.          ให้นักศึกษามีการฝึกปฏิบัติการจริง ซึ่งจะก่อให้เกิดประสบการณ์ในการทำงานในอนาคต  
สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาเป็นรายบุคคล ทำการสุ่มในการอภิปรายหน้าชั้นเรียน เขียนสรุปหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเองในแต่ละครั้งที่มีการทำงานกลุ่ม ทำการสอบประเมินผลปลายภาคการศึกษาเน้นการใช้วิธีการวัดหลากหลายตามเนื้อหาและกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน ผลการประเมินต้องสะท้อนให้เห็นความก้าวหน้าของผู้เรียน
2.  ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) ˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ˜2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ทักษะ และการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหา ˜2.3 สามารถวิเคราะห์  ออกแบบ ติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด ˜2.4  สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ ˜2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง ˜2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของเทคโนโลยีสารสนเทศเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ ˜2.7 มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้งานได้จริง ˜2.8 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศกับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย ให้กรณีศึกษา กำหนดให้นักศึกษาทำงานเป็นกลุ่มโดยฝึกปฏิบัติกับกรณีตัวอย่างจริงในการแก้ปัญหา ให้นักศึกษาใช้เครื่องมือในการทำการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับสถานการณ์จริง  
การนำเสนอ การตอบคำถาม เอกสารข้อเสนอ
3.  ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) ˜3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ ˜3.2 สามารถสืบค้น ตีความ และประเมินสารสนเทศเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ˜3.3 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ ˜3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
มอบหมายงานให้นักศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและวิธีการป้องกันโดยใช้ความรู้ในวิชานี้และวิชาที่เรียนมาแล้วก่อนนี้และนำเสนอผลการวิเคราะห์ในรูปของรายงาน
การนำเสนอ การตอบคำถาม แบบประเมิน
4.  ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) š4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ š4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่การแก้สถานการณ์ต่างในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน l4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม š4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม š4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งในส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม l4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 
  ให้ทำงานร่วมกันเป็นกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา มอบหมายงานกลุ่มและรายบุคคล และการนำเสนอรายงาน
ให้คะแนนผลงานเป็นกลุ่ม (คะแนนกลุ่ม)  
5.  ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร  และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical  Analysis, Communication  and Information Technology Skills) ˜5.1  มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ˜5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ š5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียน เลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม l5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่ออย่างเหมาะสม
1.เน้นการสอนที่ใช้ปัญหานำความรู้ที่เกี่ยวข้องตาม และพัฒนาแนวคิดในการออกแบบระบบ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดปัญหา 2.มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และทำรายงานโดยอ้างอิงข้อมูลจากแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ 3.นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
  1. การจัดทำรายงาน และการนำเสนอ 2. การซักถามโดยการสุ่มในชั้นเรียน 3. การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills)
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.3 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ 1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต 1.2 มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม 1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม 1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคลองค์กรและสังคม 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ 2.2 สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความต้องการทางคอมพิวเตอร์รวมทั้งประยุกต์ความรู้ทักษะและการใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ไขปัญหา 2.3 สามารถวิเคราะห์ออกแบบติดตั้งปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบต่างๆของระบบเทคโนโลยีสารสนเทศให้ตรงตามข้อกำหนด 2.4 สามารถติดตามความก้าวหน้าและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไปประยุกต์ 2.5 รู้เข้าใจและสนใจพัฒนาความรู้ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง 2.6 มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ 3.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 3.4 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม 3.1 คิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบ 3.2 สามารถสืบค้นตีความและประเมินสารสนเทศเพื่อให้ในการแก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 4.1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนหลากหลายและสามารถสนทนาทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 4.2 สามารถให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเเก่การแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆในกลุ่มทั้งในบทบาทของผู้นำหรือในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 4.3 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาชี้นำสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.4 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.5 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 4.6 มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 5.1 มีทักษะในการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.2 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ไขปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.3 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพทั้งปากเปล่าและการเขียนเลือกใช้รูปแบบของสื่อการนำเสนออย่างเหมาะสม 5.4 สามารถใช้สารสนเทศและเทคโนโลยีสื่อหรืออย่างเหมาะสม
1 BSCCT904 โครงงานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-1.2, 4.1, 4.5 การเข้าร่วมกิจกรรม การส่งงาน ตลอดภาคการศึกษา 40%
2 1.2,1.5-1.6, 2.1-2.3, 2.6-2.8, 3.1, 3.4, 4.3, 5.1-5.4 การนำเสนอ การตอบคำถาม เอกสารข้อเสนอ 5-8 20%
3 1.2,1.5-1.6, 2.1-2.3, 2.6-2.8, 3.1, 3.4, 4.3, 5.1-5.4 การนำเสนอ การตอบคำถาม แบบประเมินความก้าวหน้า 15-16 20%
4 1.1, 1.7, 2.1, 3.2, 4.4 ความสมบูรณ์และรูปแบบของเอกสารข้อเสนอโครงงาน ความสมบูรณ์และรูปแบบของโครงงาน 17 20%
- สุชาติ โสมประยูร และวรรณี โสมประยูร. การเขียนหนังสือหรือตำราและบทความ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำกัด, 2550.       
- Science Project http://www.scienceproject.makewebez.com/ วิชาการ.คอม http://www.vcharkarn.com/project/ ต่อยอด.คอม http://www.toryod.com/ วารสารวิชาการ ม.อบ. http://www.ubu.ac.th/~research/UBUJournal/index.php โครงงานคอมพิวเตอร์ จาก สสวท. http://oho.ipst.ac.th/ipst-microbox/30-SampleProjects
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน การสะท้อนคิด จากพฤติกรรมของผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ผลการสอบ การสอบเค้าโครงของโครงงานเทคโนโลยีสารสนเทศ การสังเกตความสนใจของนักเรียน การซักถามในห้องเรียน การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
มีการค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลใหม่ๆ ที่ทันสมัย เช่น จากหนังสือที่แนะนำและเอกสารอ้างอิง ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์และอื่นๆ
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ  ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา  ได้จาก  การสอบถามนักศึกษา  หรือการสุ่มตรวจผลงานนักศึกษา  รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย  และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้ -         การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น  หรือผู้ทรงคุณวุฒิ -         มีการตั้งกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา  โดยตรวจสอบข้อสอบ  รายงาน  วิธีการให้คะแนน  และการให้คะแนนพฤติกรรม  แก้ไข
ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4