นวัตกรรมการเขียนโปรแกรม

Innovation Programming

1.    สามารถอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานบนเครื่องนวัตกรรม 2.    สามารถบอกวิธีปฏิบัติการแก้ปัญหาและวิธีการแก้ปัญหาและออกแบบวิธีการแก้ปัญหา 3.    สามารถอธิบายแนวคิดการเขียนคำอธิบายและการกำหนดรายละเอียดของโปรแกรม 4.    สามารถออกแบบการจัดวางโครงสร้างของโปรแกรม 5.    สามารถออกแบบโครงสร้างการทำงานของโปรแกรม 6.    สามารถออกแบบส่วนติดต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องนวัตกรรม 7.    สามารถออกแบบโครงสร้างของการป้อนข้อมูล 8.    สามารถออกแบบการควบคุมความถูกต้อง การตอบสนองของระบบ การแสดงส่วนช่วยเหลือ 9.    สามารถออกแบบหน้าติดต่อผู้ใช้ 10.    สามารถออกแบบการหาข้อผิดพลาด 11.    สามารถปฏิบัติการทดสอบโปรแกรมเพื่อใช้งานได้จริงบนเครื่องนวัตกรรม
มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์เพื่อนำผลที่ได้ไปปรับปรุงแก้ไขในการใช้งานครั้งถัดไป
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับภาษาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่สามารถทำงานบนเครื่องนวัตกรรม ศึกษาปัญหาและวิธีการแก้ปัญหา ออกแบบวิธีการแก้ปัญหา การเขียนคำอธิบายและการกำหนดรายละเอียดของโปรแกรม การออกแบบการจัดวางโครงสร้างของโปรแกรม การออกแบบโครงสร้างการทำงานของโปรแกรม การออกแบบส่วนติดต่อระหว่างผู้ใช้กับเครื่องนวัตกรรม การออกแบบโครงสร้างของการป้อนข้อมูล การควบคุมความถูกต้อง การตอบสนองของระบบ การแสดงส่วนช่วยเหลือ การออกแบบหน้าติดต่อผู้ใช้ การหาข้อผิดพลาด  และการทดสอบโปรแกรมเพื่อใช้งานได้จริงบนเครื่องนวัตกรรม
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์กลุ่มเครือข่ายสังคมออนไลน์ -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
6.  สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม
3.  ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2)  การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 3)  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
2.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน 5.  สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกำหนด
1.  จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ 5.  ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 6.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
1.  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (ทฤษฎีและปฏิบัติ) 7.  ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงานการทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
4.  สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
2.  จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ จากกรณีศึกษา (งานที่ได้รับมอบหมาย) 5.  การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง 6.  การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
1.  ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา  5.  การทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา 8.  ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
6.  มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
6.  มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ
1.    พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 6.    สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)
4.  มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
7.  มีเนื้อหาของเครื่องมือที่ใช้ในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุที่ทันสมัย
1.  การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 6. สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม 2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน 5. สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกำหนด 4. สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ 6. มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4. มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1 BBAIS214 นวัตกรรมการเขียนโปรแกรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.6 - การเข้าชั้นเรียน - การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน - การส่งงานตรงเวลา ทุกสัปดาห์ 10
2 5.1.4, 3.1.1, 2.1.2, 2.1.5 สอบข้อเขียน ทฤษฎี ครั้งที่ 1 8 15
3 3.1.1, 2.1.2, 2.1.5 สอบปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 8 15
4 3.1.1, 2.1.2 สอบข้อเขียน ทฤษฎี ครั้งที่ 2 16 15
5 3.1.1, 2.1.2 สอบปฏิบัติการ ครั้งที่ 2 16 15
6 4.1.6, 2.1.2 งานที่ได้รับมอบหมาย (ทฤษฏี, ปฏิบัติ) ทุกสัปดาห์ 30
เอกสารประกอบการสอน เว็บไซต์ E-Learning ของมหาวิทยาลัย
1. สอน Python เบื้องต้น : https://www.youtube.com/watch?v=h85EQnOryg8&list=PLltVQYLz1BMBwqJysYnoEKWXUvqusJpgN&index=4
2. PromptPay-QR-generator https://github.com/maxpromer/PromptPay-QR-generator/blob/master/README.md
3. Line Notify : https://medium.com/@nattaponsirikamonnet/%E0%B8%A1%E0%B8%B2%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%87-line-notify-%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%96%E0%B8%AD%E0%B8%B0-%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99-65a7fc83d97f
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1    การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2    แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3    ข้อเสนอแนะผ่านระบบสังคมออนไลน์ (Social Network)  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา    2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุง ดังนี้ 3.1  ปรับหัวข้อ และ ระยะเวลาในการสอนให้เหมาะสมกับการเรียนการสอน 3.2  ปรับปุรงเนื้อหา ให้เหมาะสมกับ การเรียนการสอน 3.3  ปรับวิธีการสอน •    แก้ไขผลการเรียนรู้ข้อ 5.1.4  มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ เป็นเพียงแค่จุดขาวเพราะในปัจจุบันจะไม่ยึดติดกับเครื่องมือใดเครื่องมือหนึ่ง
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ •    มีการตั้งคณะกรรมการในหลักสูตร ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยใช้แบบสอบถามประเมินผลการเรียนรู้ และ/หรือตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ