การฟัง พูดในชีวิตประจำวัน

Listening and Speaking in Everyday Life

เพื่อให้นักศึกษาฝึกการฟัง และเรียนรู้สำนวนภาษา ลีลา ท่าทาง และกลวิธีการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารตามสถานการณ์ต่างๆ ตลอดจนธรรมเนียมปฏิบัติ และการใช้ภาษาพูดให้เหมาะสมกับสถานการณ์
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะพื้นฐานทางด้านการฟังและการพูดภาษาอังกฤษ เป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
ศึกษาและฝึกปฎิบัติการพัฒนากลยุทธ์และทักษะการฟัง เสริมสร้างความมั่นใจ และความสามารถในการพูดตาม สถานการณ์ต่างๆในสถานการณ์ปัจจุบัน
 
3.1 วัน พุธ ห้องพักอาจารย์ ชั้น 6 อาคาร BLA  เวลา 15.-30 - 16.30 น. โทร 083-946-9799
3.2 e-mail: kkreutanu_hotmail.com เวลา 18.00 - 20.00 น. ทุกวัน
1.1 มีความรู้ความเข้าใจตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ มีจิตสำนึกสาธารณะ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์ สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
1.2 มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลาความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม
1. สอดแทรกและส่งเสริมด้าน คุณธรรม จริยธรรมระหว่างการเรียนการสอน
2. ปลูกฝังให้มีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลา
3. ใช้กิจกรรมในการปลูกฝังความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
1. การส่งรายงานตรงเวลา
2. การเชคชื่อเข้าชั้นเรียน
3.ความซื่อสัตย์สุจริตในการทำงานที่ได้รับมอบหมายและการสอบ
2.1 มีความรู้และเข้าใจหลักการทฤษฎีและการปฏิบัติในเนื้อหาของรายวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในรายวิชาที่ศึกษา กับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสมและพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางิวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
1. บรรยาย
2. กิจกรรมคู่ การฝึกพูดสนทนาคู่ และสนทนากลุ่มในสถานการณืต่างๆ 
3. ทำแบบฝึกหัด
1. ตอบคำถามปากเปล่า
2. การแสดงออกในการพูดสนทนากับคู่และการมีส่วนร่วมในกลุ่ม
3. ทำแบบฝึกหัดตามที่ได้มอบหมาย
4. การสอบกลางภาคและปลายภาค
3.1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินข้อมูลจากหลายแหล่งเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม
3.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้า ตามแหล่งข้อมูลต่างๆ
การตรวจความถูกต้องในการส่งงานตามที่ได้รับมอบหมาย
4.4 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.5 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.6 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
4.7 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม
4.4 มอบหมายงานให้นักศึกษาไปศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากหนังสือ และค้นคว้าในเวปไซต์ต่างๆ แล้วนำมานำเสนอเป็นงานกลุ่ม
4.5 การทำแบบฝึกหัด ที่ได้รับมอบหมาย
 
4.4 ตรวจสอบการส่งงานที่มอบหมายโดยบันทึกการส่งงานของนักศึกษา และตรวจงาน
4.5 ตรวจงานที่นักศึกษา
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
มอบหมายงานให้นักศึกษาไปศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมจากโดยค้นคว้าจากเวปไซต์ต่างๆ
ตรวจสอบการส่งงานที่มอบหมายโดยบันทึกการส่งงานของนักศึกษาแต่ละคนและตรวจงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2 ด้านความรู้ 3. ด้านปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1..1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 4.3 4.4 4.5 5.1 5.2 ุ6.1
1 BOAEC106 การฟัง พูดในชีวิตประจำวัน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 Attendance ทุกสัปดาห์ 10 %
2 Speaking & Presentation Week 8-15 40 %
3 Quizzes Week 10 & 14 10 %
7 Mid-term Exam 8 20%
8 Final Exam 17 20 %
EVERYDAY CONVERSATIONS: LEARNING AMERICAN ENGLISH ENGLISH LEARNING EDITION
ISBN (print) 978-1-625-92054-6
https://english-rooms.com/online-english-language-school/
https://english-rooms.com/online-english-language-school/
นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งด้านวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและห้องนอก
เรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ที่ส่งผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ
ข้อเสนอแนะเพื่อปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบเครือข่ายของมหาวิทยาลัย https://reg.rmutl.ac.th/
 
หลักสูตรกำหนดให้มีการประเมินการสอนโดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดย
รองอธิการบดี มทร.ล้านนา ตาก จากผู้สังเกตการณ์สอนหรือทีมผู้สอน หรือผลการเรียนของนักศึกษา
หลักสูตรมีการกำหนดกลไกและวิธีการปรับปรุงการสอนโดยการวิจัยในชั้นเรียน การประชุมเชิง
ปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ฯลฯ
โดยสุ่มจากนักศึกษาที่มีผลการเรียนที่น่าพอใจมาสัมภาษณ์ หรือให้ทำการทดสอบอีกครั้ง
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมินจากข้อ 1 และ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงรายวิชาเพื่อจัดปรับกระบวนการสอน และการประเมินผล ในภาคการศึกษาถัดไป