การศึกษาค้นคว้าอิสระ

Independent Studies

 เพื่อให้นักศึกษามีโอกาสศึกษาหัวข้อการเรียนรู้ที่ตนเองสนใจและเพื่อกระตุ้นให้นักศึกษามีความก้าวหน้า ในการทำการค้นคว้าวิจัย 
  เพื่อให้นักศึกษากำหนดหัวข้องานวิจัยที่สนใจจะศึกษา ดำเนินการวิจัยตามหลักกระบวนการวิจัย และนำเสนอผลการวิจัยเป็นภาษาอังกฤษ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลอย่างมี ระบบ ตามหัวข้อที่สนใจ และนาเสนอผลงานเป็นภาษาอังกฤษ ภายใต้การแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา Study and practice searching, collecting, analyzing, synthesizing, concluding, and presenting the data of students specific topics of interest under the guidance of advisors
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามเวลาที่นักศึกษาต้องการ 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
สอดแทรกการใช้ภาษาในสังคมได้อย่างถูกต้องเหมาะสมรู้จักปรับใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องตามวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา            1.1.1  [    ] มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม            1.1.2  [] มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ            1.1.3  [] มีวินัย  ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม            1.1.4  [    ] เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 - อธิบายรายวิชา รูปแบบการเรียนการสอน และการประเมินผลและให้นักศึกษาอภิปราย              - บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ             - จัดตารางเวลาในการฝึกปฏิบัติและการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองให้นักศึกษาและให้นักศึกษาอภิปราย
 - ส่งงานตามที่กำหนด             - ผลการประเมินของอาจารย์ที่ปรึกษา             - ติดตามการดำเนินการฝึกปฏิบัติและการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองของนักศึกษา   
    2.1.1  [] มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษาสา             2.1.2  [] สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา             2.1.3  [] สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 - บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ             - จัดตารางเวลาในการฝึกปฏิบัติและการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองให้นักศึกษาและให้นักศึกษาอภิปราย   
- ส่งงานตามที่กำหนด             - ผลการประเมินของอาจารย์ที่ปรึกษา             - ติดตามการดำเนินการฝึกปฏิบัติและการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองของนักศึกษา             - ความสามารถในการนำเสนอผลงานและการตอบข้อซักถาม
  3.1.1  [] มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ             3.1.2   [] มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ             3.1.3   [] มีทักษะในการนำความรู้มาประยุกต์และปรับเปลี่ยนได้เหมาะสมตาม   
 - อธิบายรายวิชา รูปแบบการเรียนการสอน และการประเมินผล และให้นักศึกษาอภิปราย              - บรรยายพร้อมยกตัวอย่างประกอบ             - จัดตารางเวลาในการฝึกปฏิบัติและการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองให้นักศึกษาและให้นักศึกษาอภิปราย             - จัดให้มีการนำเสนอผลงานและการตอบข้อซักถาม
  - ผลการประเมินของอาจารย์ที่ปรึกษา             - ติดตามการดำเนินการฝึกปฏิบัติและการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองของนักศึกษา             - ความสามารถในการนำเสนอผลงานและการตอบข้อซักถาม   
    4.1.1  [   ] มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี             4.1.2  [   ] มีภาวะการเป็นผู้นำและผู้ตาม             4.1.3  [   ] สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม             4.1.4  [] สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 - กำหนดปฏิทินเวลานำเสนอ               - ผู้สอนและนักศึกษาช่วยกันเสริมเนื้อหาให้ครบถ้วน               - นักศึกษามีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นในห้องเรียน
 -  ผู้สอนประเมินตามแบบการนำเสนอ           -  สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของผู้เรียน                -  การตรงต่อเวลาและการส่งงาน                -  การประเมินจากอาจารย์ที่ปรึกษา
 5.1.1  [] เลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม                  5.1.2  [] สืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม              5.1.3  [] ใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องตามกาลเทศะ และสอดคล้องกับวัฒนธรรม
- ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ทบทวนความเข้าใจตามกิจกรรมที่กำหนด            - ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน            - ให้นักศึกษาได้ศึกษาจากกรณีศึกษา งานวิจัย ตัวอย่างต่าง ๆ ตามหัวข้อการเรียนรู้ที่สนใจ
   - ผลการประเมินของอาจารย์ที่ปรึกษา             - ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน             - ติดตามการดำเนินการฝึกปฏิบัติและการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองของนักศึกษา             - ความสามารถในการนำเสนอผลงานและการตอบข้อซักถาม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรู้ในบทเรียนที่ 1-3 และการนำเสนอโครงร่างวิจัยได้ ประเมินผลจากเอกสารโครงร่างงานวิจัยและการนำเสนอหน้าชั้นเรียน 6 35%
2 ความรู้ในบทเรียนที่ 4-5 การจัดส่งรูปเล่มงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ และการนำเสนองานวิจัยหน้าชั้นเรียน 12 35%
3 การฝึกปฏิบัติ / กิจกรรม แบบฝึกปฏิบัติในบทเรียน งานมอบหมาย สังเกตจากการปฏิบัติงานมอบหมายภายในและภายนอกชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 เจตคติที่ดีต่อรายวิชา การเข้าเรียนอย่างสม่ำเสมอ จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
Wassanasomsithi, P. (2004). English in applied linguistics: A course book. Bangkok: Sumon Publishing Co., Ltd.
Neuman, W. L. (1997). Social research methods: Qualitative and quantitative approaches. 3rd Edition, USA: Allyn and Bacon.   
ให้นักศึกประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ได้แก่ วิธีการสอน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ ที่ได้รับพร้อมข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุง โดยผ่านกิจกรรมดังนี้       1) การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน        2) ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู้ ทักษะในการประมวล/คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้       3) แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
    การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ดังนี้       - อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนของตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษา  ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา       - สังเกตจาการทำกิจกรรมในชั้นเรียน       - ประเมินจากผลการนำเสนอ       - ผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
  - ให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา ปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัย แล้วจัดทำรายงานเมื่อสอนจบภาคเรียน         - กำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน         - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน เพื่อร่วมกันหาแนวทางหรือวางแผนการปรับปรุงพัฒนารายวิชา         - การวิจัยในชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและงานกลุ่ม ผู้สอนตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละคนว่าพัฒนาก้าวหน้าหรือมีการพัฒนาที่ผิดปกติแก้โดยการขอพบนักศึกษา แจ้งผลการได้รับคะแนนเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
   สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดยพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานรายวิชา เสนอต่อที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงพร้อมนำเสนอสาขา/ คณะ   แก้ไข