การออกแบบเครื่องประดับเทียม

Costume Jewelry Design

ฝึกปฎิบัติ เกี่ยวกับการออกแบบเครื่องประดับเทียมและการผลิตเครื่องประดับเทียม โดยใช้วัสดุการประยุกต์ใช้วัสดุจากโลหะ อัญมณีสังเคราะห์ วัสดุเหลือใช้และวัสดุประเภทต่างๆ การนำเสนอผลงานเครื่องประดับเทียม
เพื่อพัฒนาให้รายวิชามีความทันกระแสนิยมเเฟชั่นเครื่องประดับในปัจจุบัน
ฝึกปฎิบัติ เกี่ยวกับการออกแบบเครื่องประดับเทียมและการผลิตเครื่องประดับเทียม โดยใช้วัสดุการประยุกต์ใช้วัสดุจากโลหะ อัญมณีสังเคราะห์ วัสดุเหลือใช้และวัสดุประเภทต่างๆ การนำเสนอผลงานเครื่องประดับเทียม  แก้ไข
สัปดาห์ละ1 ชั่วโมง
1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต  มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง และ สังคม 1.1.2 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
 
 1.2.1 บรรยาย และยกตัวอย่างเกี่ยวกับเนื้อหาของการออกแบบเครื่องประดับ  1.2.2 บรรยาย ฉายภาพนิ่ง สื่อการเรียนการสอน ยกตัวอย่างประกอบคำบรรยาย  1.2.3 จัดกิจกรรม จิตสาธารณะปลูกฝังจรรยาบรรณวชิาชีพ ฟังธรรมะห้า นาที
1.3.1 สังเกต ขานชื่อ การเข้าชั้นเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมสาธารณะ 1.3.2 ประเมินผลจากการสอบทฤษฎี และสอบปฎิบัติ 1.3.3 ตรวจสอบผลการจัดกิจกรรม 1.3.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฏระเบียบ 
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ 2.1.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.1.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
 2.2.1 บรรยาย ใช้สื่อการสอนเน้นหลกัการออกแบบ ฝึกปฎิบัติการออกแบบ เครื่องประดับเพื่อให้เกิดองค์ความรู้        2.2.2 รวบรวมผลงานการปฏิบัติในรูปแบบแฟ้มสะสมงาน      2.2.3 มอบหมายงานกลุ่มโดยใช้หัวข้อตามหลักการออกแบบเครื่องประดับเทียม
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูล  ที่หลากหลายอย่างมีจารณญาณ   3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
 
 
 
 3.2.1 มอบหลายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์    3.2.2 ให้น้กศึกษาลงมือปฏิบัติจริง      3.2.3 การศึกษา ค้นคว้ารายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน    3.2.4 การสะทอ้นแนวคิดจากการปฏิบัติ
3.3.1 ประเมินจากการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาและการน าเสนอผลงาน 3.3.2 ประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวเรื่อง 
4.1.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 4.1.2 มีความรับผิดชอบ ต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
 
  
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา ตัวอย่างผลงานเครื่องประดับ 4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่ม และรายบุคคล 4.2.3 การนำเสนอผลงานหลังจากฝึกปฏิบัติให้สอดคล้องกับการออกแบบ เครื่องประดับ
 
4.3.1 ประเมินตนเอง จากรายงานหน้าชั้นโดยอาจารย์ และนักศึกษา 4.3.2 พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา   
5.1.1สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียน ในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.1.2สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
5.2.1มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การหาขอ้มูลจากแหล่งที่มา ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ และนำเสนอหน้าชั้นเรียน 5.2.2ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย ผล 5.2.3ศึกษาดูงานเครื่องประดับ ตัวอย่าง สถานที่จัดเเสดงผลงานเครื่องประดับ
5.3.1 ประเมินจากผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับการออกแบบ เครื่องประดับ  
มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
 
จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา ตัวอย่างผลงานเครื่องประดับเทียม ฝึกทักษะ ฝีมือ
ประเมินจากผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับการออกแบบ เครื่องประดับเทียม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม จุดดำ 1 จุดขาว 3
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ความรู้ ทักษะทางปัญญา จริยธรรม ความรับผิดชอบ
1 BAATJ147 การออกแบบเครื่องประดับเทียม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบ การแต่งกายมาเรียน สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค คะแนนปฏิบัติ ตลอดการศึกษา และ สัปดาห์ที่ 9 และสัปดาห์ที่17 จิตพิสัย10 คะแนนเก็บ60 สอบกลางภาค และปลายภาค30
   1.1   มาณพ ถนอมศรี.ศิลปะสำหรับครู.กรุงเทพฯ : หจก เอมี่ เทรดดิ้ง, 2546.    1.2  วัฒนะ จูฑะวิภาต.การออกแบบเครื่องประดับ.กรุงเทพฯ : ธนาเพรส แอนด์ กราฟฟิค จำกัด, 2545.    1.3  ศศิธร ชุมแสง พอล.จิวเวลรี่ดิไซน์. กรุงเทพฯ :โอ เอส พริ้น ติ้งเฮ้าส์, 2549.
นิตยสารเครื่องประดับเทียม
3.1 เว็บไซต์ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบผลิตภัณฑ์ รวมทั้งหนังสือรูปแบบเกี่ยวกับการออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องประดับ 3.2 ข้อมูลจากสถานที่จริง เช่น พิพิธภัณฑ์ กลุ่มโอทอป กลุ่มวิสาหกิจ
สนธนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ผลการเรียนของนักศึกษา
การประเมินผล
การสังเกตผลการเรียนของนักศึกษา
หลังจากผลการประเมินในการเรียนการสอนนำมาปรับปรุงตามข้อเสนอแนะ
การเลือกสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
ตั้งคณะกรรมการประเมินผล
ปรับปรุงรายวิชาทุก3ปี เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน