โรคและการสุขาภิบาลสัตว์

Animal Diseases and Sanitation

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และเข้าใจเกี่ยวกับโรคต่างๆที่เกิดขึ้นในวงการปศุสัตว์รวมทั้งโรคพยาธิที่สำคัญสาเหตุ ระยะฟักตัว การระบาด อาการ วิธีการตรวจ การรักษา การป้องกันและการกำจัดโรคที่สำคัญพระราชบัญญัติควบคุมโรคระบาดสัตว์
เพื่อประยุกต์ความรู้พื้นฐานที่มีอยู่ให้มีความสอดคล้องกับความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ ตลอดจนความก้าวหน้าต่างๆ ในวงการปศุสัตว์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
 
3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
มีจิตสำนึกและตระหนักในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ แสดงออกอย่างสม่ำเสมอถึงความซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยและความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม เคารพสิทธิและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
บรรยายเกี่ยวกับโรคต่างๆที่เกิดขึ้นในวงการปศุสัตว์รวมทั้งโรคพยาธิที่สำคัญสาเหตุ ระยะฟักตัว การระบาด อาการ วิธีการตรวจ การรักษา การป้องกันและการกำจัดโรคที่สำคัญพระราชบัญญัติควบคุมโรคระบาดสัตว์ มอบหมายให้ทำรายงานบทปฏิบัติการเป็นรายบุคคล โดยให้ยกตัวอย่างเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบันที่เกี่ยวข้องกับข้อ 1.2.1 อธิบายข้อปฏิบัติที่ดีในกระบวนก่อนและหลังการปฏิบัติที่ถูกสุขลักษณะ และมีการควบคุมระหว่างกระบวนการผลิตในภาคปฏิบัติ
1.3.1 สอบข้อเขียนความเข้าใจเกี่ยวกับโรคต่างๆที่เกิดขึ้นในวงการปศุสัตว์รวมทั้งโรคพยาธิที่สำคัญสาเหตุ ระยะฟักตัว การระบาด อาการวิธีการตรวจ การรักษา การป้องกันและการกำจัดโรคที่สำคัญพระราชบัญญัติควบคุมโรคระบาดสัตว์
1.3.2  ประเมินการส่งรายงานบทปฏิบัติการตามที่ได้รับมอบหมายตามกำหนดเวลา
1.3.3  ประเมินวิธีการปฏิบัติที่ดีก่อนและหลังการในภาคปฏิบัติ และการควบคุมระหว่างกระบวนการผลิตในภาคปฏิบัติ
2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจหลักการและทฤษฎีที่สัมพันธ์กัน   ในโรคต่างๆที่เกิดขึ้นในวงการปศุสัตว์รวมทั้งโรคพยาธิที่สำคัญสาเหตุ ระยะฟักตัว การระบาด อาการวิธีการตรวจ การรักษา การป้องกันและการกำจัดโรคที่สำคัญพระราชบัญญัติควบคุมโรคระบาดสัตว์    
2.1.2 มีความรู้ความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้
2.1.3 มีความรู้และสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาอื่น ได้แก่ การบริหารจัดการ การพัฒนาผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยีการบรรจุ และเทคโนโลยีชีวภาพ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง
2.1.4 มีความคุ้นเคยกับความก้าวหน้าทางวิชาการในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการแก้ไขปัญหาและการต่อยอดองค์ความรู้ 
2.1.5 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อกำหนดทางวิชาการ ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนตามกาลเวลาเพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
2.2.1 บรรยายเกี่ยวกับโรคต่างๆที่เกิดขึ้นในวงการปศุสัตว์รวมทั้งโรคพยาธิที่สำคัญสาเหตุ ระยะฟักตัว การระบาด อาการวิธีการตรวจ การรักษา การป้องกันและการกำจัดโรคที่สำคัญพระราชบัญญัติควบคุมโรคระบาดสัตว์
2.2.2 มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าความรู้ใหม่หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องทางโรคต่างๆที่เกิดขึ้นในวงการปศุสัตว์รวมทั้งโรคพยาธิที่สำคัญสาเหตุ ระยะฟักตัว การระบาด อาการวิธีการตรวจ การรักษา การป้องกันและการกำจัดโรคที่สำคัญพระราชบัญญัติควบคุมโรคระบาดสัตว์
2.3.1 สังเกตความสนใจและซักถามระหว่างการบรรยาย
2.3.2 สอบข้อเขียนเกี่ยวกับโรคต่างๆที่เกิดขึ้นในวงการปศุสัตว์รวมทั้งโรคพยาธิที่สำคัญสาเหตุ ระยะฟักตัว การระบาด อาการวิธีการตรวจ การรักษา การป้องกันและการกำจัดโรคที่สำคัญพระราชบัญญัติควบคุมโรคระบาดสัตว์
2.3.3 ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัยทางโรคสัตว์ เช่น การตอบข้อซักถามความเข้าใจและการประยุกต์ความเข้าใจกับวิชาอื่นๆ
3.1.1 มีความสามารถในการค้นหาข้อเท็จจริง ทำความเข้าใจและประเมินข้อมูลสารสนเทศแนวคิดและหลักฐานใหม่ๆ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย และใช้ข้อมูลที่ได้ในการแก้ไขปัญหาหรืองานอื่นๆ ได้ด้วยตนเอง
3.1.2 สามารถศึกษาวิเคราะห์ปัญหาและเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์ โดยคำนึงถึงความรู้ทางทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง ประสบการณ์ในภาคปฏิบัติ และผลกระทบที่ตามมาจากการตัดสินใจนั้น  
3.1.3 สามารถใช้ทักษะและความรู้ความเข้าใจอันถ่องแท้โรคต่างๆที่เกิดขึ้นในวงการปศุสัตว์รวมทั้งโรคพยาธิที่สำคัญสาเหตุ ระยะฟักตัว การระบาด อาการวิธีการตรวจ การรักษา การป้องกันและการกำจัดโรคที่สำคัญพระราชบัญญัติควบคุมโรคระบาดสัตว์
3.1.4 มีทักษะปฏิบัติตามที่ได้รับการฝึกฝน จากเนื้อหาสาระสำคัญของสาขาวิชา
3.2.1 มีปฏิบัติการโรคสัตว์และการสุขาภิบาลควบคู่กับหัวข้อภาคบรรยาย
3.2.2 อธิบายวิธีการฝึกเป็นลำดับขั้นตอน แบ่งกลุ่มนักศึกษา แนะนำเทคนิคระหว่างการฝึกปฏิบัติ คอยกำชับนักศึกษาให้ติดตามการควบคุมบางขั้นตอนการตรวจโรคสัตว์ที่สำคัญ และวิจารณ์คุณภาพการตรวจวิเคราะห์ร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา
3.2.3 มอบหมายงานให้มีการค้นคว้าความรู้ใหม่หรืองานวิจัยที่เกี่ยวข้องทางโรคสัตว์และการสุขาภิบาล
3.3.1 สอบปฏิบัติ
3.3.2 ประเมินทักษะและการแก้ไขปัญหาระหว่างปฏิบัติ และคุณภาพการตรวจวิเคราะห์สุดท้าย
3.3.3 ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัยทางโรคสัตว์และการสุขาภิบาลเช่น การตอบข้อซักถามความเข้าใจและการประยุกต์ความเข้าใจกับวิชาอื่นๆ
4.1.1 มีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
4.1.2 สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและสมาชิกกลุ่มได้อย่างมีประสิทธิภาพและแก้ไขข้อขัดข้องได้อย่างเหมาะสม
4.1.3 วางตัวและแสดงความคิดเห็นได้เหมาะสมกับบทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบ
4.1.4 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองและวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
มอบหมายงานทั้งงานรายบุคคล อธิบายข้อปฏิบัติในการเข้าชั้นเรียนทั้งภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ แบ่งกลุ่มนักศึกษาในภาคปฏิบัติ กำหนดหัวหน้ากลุ่มหมุนเวียนภายในกลุ่มทุกสัปดาห์อธิบายบทบาทและหน้าที่ของผู้นำและผู้ตามภายในกลุ่ม
4.3.1 ทำงานเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด และคุณภาพของงานเป็นไปตามที่กำหนด
4.3.2 ตรวจสอบการความสม่ำเสมอในการเข้าชั้นเรียนของนักศึกษา การแต่งกายที่เหมาะสม และการทำความสะอาดหลังการปฏิบัติ
4.3.3 สังเกตและประเมินการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม
5.1.1 สามารถระบุและนำเทคนิคทางสถิติหรือคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง มาใช้ในการวิเคราะห์ แปลความหมาย และเสนอแนวทางในการแก้ไขปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.2 สามารถสรุปประเด็นและสื่อสารทั้งการพูดและการเขียน รู้จักเลือกและใช้รูปแบบของการนำเสนอที่เหมาะสมสำหรับเรื่องและผู้ฟังที่แตกต่างกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3 สามารถระบุ เข้าถึง และคัดเลือกแหล่งข้อมูลความรู้ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหาร จากแหล่งข้อมูลสารสนเทศทั้งในระดับชาติและนานาชาติ
5.1.4 มีวิจารณญาณในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่เหมาะสม และใช้อย่างสม่ำเสมอ  เพื่อการรวบรวมข้อมูล แปลความหมาย และสื่อสารข้อมูลข่าวสารและแนวความคิด
5.1.5 สามารถใช้คอมพิวเตอร์ในการจัดการกับข้อมูลต่างๆ อย่างเหมาะสม
5.1.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี นวัตกรรม และสถานการณ์โลก โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.7 สามารถใช้ภาษาไทยอย่างถูกต้อง และภาษาอังกฤษในระดับใช้งานได้และเหมาะสม
5.2.1 บรรยายวิธีการคำนวณสูตรการคำนวณยา ร้อยละของอัตราการผลิตและคำนวณปริมาณยาที่ใช้
5.2.2 มอบหมายงานค้นคว้างานวิจัยใหม่ๆ ทางโรคสัตว์และการสุขาภิบาลที่มีการตีพิมพ์ในระดับนานาชาติ และมีการนำเสนอในชั้นเรียน
5. 3.1 ทดสอบการคำนวณสูตรการคำนวณยา ร้อยละของอัตราการผลิตและคำนวณปริมาณยาที่ใช้
5.3.2 ประเมินผลการนำเสนอความรู้ใหม่หรืองานวิจัยทางโรคสัตว์และการสุขาภิบาลเช่น การใช้ภาษาไทยที่ถูกต้อง รูปแบบการนำเสนอที่เหมาะสม ความต่อเนื่องของเนื้อหาที่นำเสนอ การใช้สื่อที่เหมาะสมนำเสนอ
6.1.1 มีทักษะการบริหารเวลาในการปฏิบัติได้อย่างเหมาะสม
6.1.2 มีทักษะในการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เหมาะสม
6.1.3 มีทักษะในการตรวจวิเคราะห์โรคสัตว์และการสุขาภิบาลที่เหมาะสม
6.2.1 อธิบายวิธีการปฏิบัติ และลำดับขั้นตอนการปฏิบัติ
6.2.2 อธิบายวิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ที่เหมาะสม และข้อควรระวังใช้การใช้เครื่องมือ
6.2.3 สาธิตและแนะนำทักษะการปฏิบัติ กำชับการควบคุมระหว่างกระบวนการปฏิบัติ และมีการสอบภาคปฏิบัติ
ประเมินความสำเร็จของงาน ตามระยะเวลาที่กำหนดอย่างเหมาะสม ประเมินการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์อย่างเหมาะสม สอบภาคปฏิบัติและประเมินคุณภาพของการตรวจวิเคราะห์โรคสัตว์และการสุขาภิบาล
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ทักษะพิสัย ทางปัญญา คุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา มอบหมายงาน การบรรยาย การมอบหมายงาน การมอบหมายงาน
1 BSCAG210 โรคและการสุขาภิบาลสัตว์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1, 2.1 1.1, 2.1 1.1, 1.3, 1.4, 3.1, 3.2, 3.4, 4.1, 4.4, 5.1, 6.1, 6.2, 6.3 สอบกลางภาค สอบปฏิบัติ สอบปลายภาค 9 ตลอดภาคการศึกษา 17 35% 10 % 35%
1.กิจจา อุไรรงค์. 2535 แนวทางการวินิจฉัยรักษาและควบคุมโรคสุกร. ภาควิชาศัลยาศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน,นครปฐม. 348 หน้า
2. กิจจา อุไรรงค์, ปรียพันธ์ อุดมประเสริฐและวรวิทย์ วัชชวัลดุ. 2536 . การจัดการสุขภาพและผลผลิตในฟาร์มสุกร. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน,นครปฐม 223 หน้า
3. กิจจา อุไรรงค์ และคณะ. 2537. การควบคุมป้องกันโรคสุกรที่สำคัญในประเทศไทย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน,นครปฐม 373 หน้า
              4. เกรียงศักดิ์ พูนสุข. 2531. คู่มือโรคไก่สำหรับผู้เลี้ยง. ม.ป.ท. 67 หน้า
              5. จันทนา กุญชร ณ อยุธยา. 2529. โรคและการรักษาสัตว์ปีก. อนงค์การพิมพ์. กรุงเทพฯ. 190 หน้า.
6.  ชวนิศนดากร  วรวรรณ. ม.ร.ว. 2528. หลักการเลี้ยงสัตว์ทั่วไป. สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทย, กรุงเทพ. 350 หน้า.
7. เชิดชัย รัตนเศรษฐกิจ. 2529 โรคสัตว์ปีก. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 299 หน้า.
8. เชื้อ ว่องส่งสาร. 2518. โรคระบาดและโรคติดเชื้อของสัตว์. โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรมพระนคร. 360 หน้า.
9. เชื้อ ว่องส่งสาร, สมบูรณ์ สุธีรัตน์. 2526. ประมวลวิชาการสัตวแพทย์. โรงพิมพ์บัณฑิตการพิมพ์, กรุงเทพฯ.451 หน้า.
10. ดำรง ปัญญาประทีป. 2528. การสุขาภิบาลและการควบคุมโรคสัตว์. คณะวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาเขตเกษตรพระนครศรีอยุธยา วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา. 263 หน้า.
11. ถวัลย์ วรรณกุล, อัมพัน ยงพิศาลภพ. 2529. มาตรการควบคุมและป้องกันโรคสุกร. โรงพิมพ์มิตรสยาม, กรุงเทพฯ. 291 หน้า.
              12. ทิม พรรณศิริ. 2516. คู่มือโรคไก่ประจำฟาร์ม. บัณฑิตการพิมพ์. กรุงเทพฯ. 250 หน้า.
              13. ทิม พรรณศิริ. 2517. คู่มือโรคสุกรของเมืองไทย. บัณฑิตการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 97 หน้า.
14. ธงชัย เฉลิมชัยกิจ. 2527. โรคสัตว์ที่เกิดจากสารพิษ. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์. 108 หน้า.
15. ธีระชัย วิสิทธิพานิช. 2528. หลักการผลิตสัตว์ทั่วไป. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 279 หน้า.
16. นันทิยา แอคะรัจน์. 2533. คู่มือปฏิบัติการโรคและการสุขาภิบาลสัตว์. โอเดียนสโตร์  กรุงเทพฯ. 118 หน้า.
              17. ประสบ บูรณมานัส. 2526. สุกรและการรักษาโรค. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 194 หน้า.
              18.  ประสบ บูรณมานัส. 2527. กระบือและการรักษา. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 284 หน้า
              19. ประสบ บูรณมานัส. 2527 . โรคและการรักษา. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 195 หน้า.
              20. ประสบ บูรณมานัส. 2528. เภสัชวิทยาทางสัตวแพทย์. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 438 หน้า.
21. ประสบ บูรณมานัส. ม.ป.ป. สิ่งที่เป็นพิษแก่สัตว์. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 98 หน้า.
22. ปรารถนา พฤกษะศรี และคณะ. 2530. กฏหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 177 หน้า.
23. มงคล ทูปิยะ, ดุสิต ติณกุลกำจร และกรีฑา ขันติ. ม.ป.ป. โรคไก่เป็ดที่สำคัญการป้องกันรักษา, บริษัทเจริญโภคภัณฑ์อินเด็ก จำกัด, กรุงเทพฯ. 115 หน้า.
24. มาลินี ลิ้มโภคา. 2525. การใช้ยาต้านจุลชีพในสัตว์. ภาคเภสัชวิทยา คณะสัตวแพทย์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 442 หน้า.
25. วีรพล จันทร์สวรรค์. 2526. พยาธิใบไม้และตัวตืดของสัตว์เลี้ยง. หมวดวิชาปาราสิตวิทยา ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 272 หน้า.
26.  สัญชัย ลักษณโกเศศ. 2523. อายุศาสตร์โรคสัตว์ใหญ่ โรคผิวหนัง. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 794 หน้า.
27. สายัณห์ ทัดศรี. 2522. หลักการทำทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย,กรุงเทพฯ. 445 หน้า.
              28. สุชีพ รัตนสาร. 2522. หลักการผลิตสุกร. เซ็นทรัลเอ็กเพรสศึกษา,กรุงเทพฯ. 442 หน้า.
29. สุพจน์ เอนกวานิช. 2526. โรคระบาดปศุสัตว์ที่สำคัญในประเทศไทย. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 124 หน้า.
30. สุพล เลื่องยศลือชากุล. 2530. โรคของสุกร เล่ม 1. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 258 หน้า.
31. สุพล เลื่องยศลือชากุล. 2530. โรคของสุกร เล่ม 2. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 258 หน้า.
32. สุพล เลื่องยศลือชากุล. และคณะ.  โรคและการป้องกันโรคสุกร คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 145 หน้า.
33. สุรพล ชลดำรงค์กุล. 2530 โรคสัตว์เศรษฐกิจ. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 231 หน้า.
34. สุรพล พหลภาคย์. 2540. คู่มือการตรวจรักษาและป้องกันโรคสุกร. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 169 หน้า.
              35. สุวิทย์ เทียรทอง. 2527. หลักการเลี้ยงสุกร. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 151 หน้า.
              36. สุวิทย์ เทียรทอง. 2530. หลักการเลี้ยงสัตว์ . โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 172 หน้า.
37. โสมทัต วงค์สว่าง. 2538. วิทยาภูมิคุ้มกันทางสัตวแพทย์. ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 114 หน้า.
              38. อุทิศ มุสิโก. 2528. คู่มือสัตวแพทย์ เล่ม 1. กองควบคุมโรคระบาด กรมปศุสัตว์. 418 หน้า.
1.กิจจา อุไรรงค์. 2535 แนวทางการวินิจฉัยรักษาและควบคุมโรคสุกร. ภาควิชาศัลยาศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน,นครปฐม. 348 หน้า
2. กิจจา อุไรรงค์, ปรียพันธ์ อุดมประเสริฐและวรวิทย์ วัชชวัลดุ. 2536 . การจัดการสุขภาพและผลผลิตในฟาร์มสุกร. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน,นครปฐม 223 หน้า
3. กิจจา อุไรรงค์ และคณะ. 2537. การควบคุมป้องกันโรคสุกรที่สำคัญในประเทศไทย. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน,นครปฐม 373 หน้า
              4. เกรียงศักดิ์ พูนสุข. 2531. คู่มือโรคไก่สำหรับผู้เลี้ยง. ม.ป.ท. 67 หน้า
              5. จันทนา กุญชร ณ อยุธยา. 2529. โรคและการรักษาสัตว์ปีก. อนงค์การพิมพ์. กรุงเทพฯ. 190 หน้า.
6.  ชวนิศนดากร  วรวรรณ. ม.ร.ว. 2528. หลักการเลี้ยงสัตว์ทั่วไป. สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทย, กรุงเทพ. 350 หน้า.
7. เชิดชัย รัตนเศรษฐกิจ. 2529 โรคสัตว์ปีก. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 299 หน้า.
8. เชื้อ ว่องส่งสาร. 2518. โรคระบาดและโรคติดเชื้อของสัตว์. โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรมพระนคร. 360 หน้า.
9. เชื้อ ว่องส่งสาร, สมบูรณ์ สุธีรัตน์. 2526. ประมวลวิชาการสัตวแพทย์. โรงพิมพ์บัณฑิตการพิมพ์, กรุงเทพฯ.451 หน้า.
10. ดำรง ปัญญาประทีป. 2528. การสุขาภิบาลและการควบคุมโรคสัตว์. คณะวิชาสัตวศาสตร์ วิทยาเขตเกษตรพระนครศรีอยุธยา วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา. 263 หน้า.
11. ถวัลย์ วรรณกุล, อัมพัน ยงพิศาลภพ. 2529. มาตรการควบคุมและป้องกันโรคสุกร. โรงพิมพ์มิตรสยาม, กรุงเทพฯ. 291 หน้า.
              12. ทิม พรรณศิริ. 2516. คู่มือโรคไก่ประจำฟาร์ม. บัณฑิตการพิมพ์. กรุงเทพฯ. 250 หน้า.
              13. ทิม พรรณศิริ. 2517. คู่มือโรคสุกรของเมืองไทย. บัณฑิตการพิมพ์, กรุงเทพฯ. 97 หน้า.
14. ธงชัย เฉลิมชัยกิจ. 2527. โรคสัตว์ที่เกิดจากสารพิษ. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์. 108 หน้า.
15. ธีระชัย วิสิทธิพานิช. 2528. หลักการผลิตสัตว์ทั่วไป. ภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 279 หน้า.
16. นันทิยา แอคะรัจน์. 2533. คู่มือปฏิบัติการโรคและการสุขาภิบาลสัตว์. โอเดียนสโตร์  กรุงเทพฯ. 118 หน้า.
              17. ประสบ บูรณมานัส. 2526. สุกรและการรักษาโรค. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 194 หน้า.
              18.  ประสบ บูรณมานัส. 2527. กระบือและการรักษา. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 284 หน้า
              19. ประสบ บูรณมานัส. 2527 . โรคและการรักษา. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 195 หน้า.
              20. ประสบ บูรณมานัส. 2528. เภสัชวิทยาทางสัตวแพทย์. ไทยวัฒนาพานิช. กรุงเทพฯ. 438 หน้า.
21. ประสบ บูรณมานัส. ม.ป.ป. สิ่งที่เป็นพิษแก่สัตว์. คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 98 หน้า.
22. ปรารถนา พฤกษะศรี และคณะ. 2530. กฏหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับปศุสัตว์ สมาคมสัตวบาลแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ. 177 หน้า.
23. มงคล ทูปิยะ, ดุสิต ติณกุลกำจร และกรีฑา ขันติ. ม.ป.ป. โรคไก่เป็ดที่สำคัญการป้องกันรักษา, บริษัทเจริญโภคภัณฑ์อินเด็ก จำกัด, กรุงเทพฯ. 115 หน้า.
24. มาลินี ลิ้มโภคา. 2525. การใช้ยาต้านจุลชีพในสัตว์. ภาคเภสัชวิทยา คณะสัตวแพทย์  มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 442 หน้า.
25. วีรพล จันทร์สวรรค์. 2526. พยาธิใบไม้และตัวตืดของสัตว์เลี้ยง. หมวดวิชาปาราสิตวิทยา ภาควิชาพยาธิวิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 272 หน้า.
26.  สัญชัย ลักษณโกเศศ. 2523. อายุศาสตร์โรคสัตว์ใหญ่ โรคผิวหนัง. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 794 หน้า.
27. สายัณห์ ทัดศรี. 2522. หลักการทำทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์. โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย,กรุงเทพฯ. 445 หน้า.
              28. สุชีพ รัตนสาร. 2522. หลักการผลิตสุกร. เซ็นทรัลเอ็กเพรสศึกษา,กรุงเทพฯ. 442 หน้า.
29. สุพจน์ เอนกวานิช. 2526. โรคระบาดปศุสัตว์ที่สำคัญในประเทศไทย. ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 124 หน้า.
30. สุพล เลื่องยศลือชากุล. 2530. โรคของสุกร เล่ม 1. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 258 หน้า.
31. สุพล เลื่องยศลือชากุล. 2530. โรคของสุกร เล่ม 2. คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 258 หน้า.
32. สุพล เลื่องยศลือชากุล. และคณะ.  โรคและการป้องกันโรคสุกร คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 145 หน้า.
33. สุรพล ชลดำรงค์กุล. 2530 โรคสัตว์เศรษฐกิจ. ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 231 หน้า.
34. สุรพล พหลภาคย์. 2540. คู่มือการตรวจรักษาและป้องกันโรคสุกร. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 169 หน้า.
              35. สุวิทย์ เทียรทอง. 2527. หลักการเลี้ยงสุกร. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 151 หน้า.
              36. สุวิทย์ เทียรทอง. 2530. หลักการเลี้ยงสัตว์ . โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 172 หน้า.
37. โสมทัต วงค์สว่าง. 2538. วิทยาภูมิคุ้มกันทางสัตวแพทย์. ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 114 หน้า.
              38. อุทิศ มุสิโก. 2528. คู่มือสัตวแพทย์ เล่ม 1. กองควบคุมโรคระบาด กรมปศุสัตว์. 418 หน้า.
เวปไซด์กรมปศุสัตว์  E-learning ของมหาวิทยาลัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1 การจัดสัมมนาความรู้ใหม่ๆ ทางโรคสัตว์และการสุขาภิบาลในชั้นเรียน
  3.2 การแทรกตัวอย่างงานวิจัยที่เกี่ยวข้องในบทเรียน
  3.3 การวิจัยในและนอกชั้นเรียo
  3.4.  การบรรยายความรู้ความก้าวหน้าทางโรคสัตว์และการสุขาภิบาลจากวิทยากรภายนอกตามโอกาส
  3.5 การศึกษาดูงานนอกสถานตามโอกาส
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้

ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 จากผู้ทรงคุณวุฒิและนักศึกษา