เขียนแบบผลิตภัณฑ์เบื้องต้น

Introduction to Product Drafting

1. รู้หลักและเกณฑ์การเขียนแบบโครงสร้างสำหรับงานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
2. เข้าใจการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์การเขียนแบบเพื่อการผลิต
3. ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการเขียนภาพคลี่ การเขียนแบบเฟอร์นิเจอร์ และการเขียนแบบตกแต่งภายในได้ถูกต้อง
4. มีทักษะในการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  การเขียนแบบเฟอร์นิเจอร์ และการเขียนแบบตกแต่งภายใน
5. เห็นคุณค่าของการ ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม  การเขียนแบบเฟอร์นิเจอร์ และการเขียนแบบตกแต่งภายใน
1. ให้นักศึกษารู้วิธีการนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 
2. ให้นักศึกษาเข้าใจวิธีการนำโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม 
3. ให้นักศึกษามีทักษะในการเขียนแบบรูปร่างและรูปทรงผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบ
4. ให้นักศึกษาเห็นคุณค่าของการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์มาใช้ในการเขียนแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
ศึกษาและฝึกปฏิบัติ การเขียนแบบโครงสร้างสำหรับงานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม การเขียนภาพคลี่ การเขียนแบบเพื่อการผลิต การเขียนแบบเฟอร์นิเจอร์ และการเขียนแบบตกแต่งภายใน ปฏิบัติงานเขียนแบบและใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการเขียนแบบ
อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาและข้อคิดเห็นเกี่ยวกับงานของนักศึกษาผ่านทางเว็บไซต์และเครือข่ายสังคมออนไลน์ อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการและนัดหมายล่วงหน้า) ผ่านทางเว็บไซต์และเครือข่ายสังคมออนไลน์ 
- ฝึกให้นักศึกษาเป็นผู้มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
- ให้นักศึกษาเป็นผู้เคารพและให้เกียรติความคิดและความรู้ของบุคคลอื่น ๆ และมีความซื่อสัตย์สุจริต ต่อตนเองและผู้อื่น
- ฝึกให้นักศึกษาเป็นผู้มีความอดทนอดกลั้น สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างไม่มีอคติในการทำงาน โดยสามารถทำงานได้ในเวลาที่กำหนดให้ทั้งในการปฏิบัติในชั้นเรียนและงานนอกชั้นเรียน
- เช็คชื่อการเข้าเรียน การตรงต่อเวลา
- เช็คเวลาการส่งงานตรงเวลา
- สังเกตุตรวจสอบพฤติกรรมในการปฏิบัติตนในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
- ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
- ประเมินจากการส่งงานตามเวลาที่กำหนด
- ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
- มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์ อย่างเป็นระบบ
- มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้าน ศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
- บรรยาย
- มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
- มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
- ประเมินจากการสอบข้อเขียน
- สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
- มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
- บรรยาย
- มอบหมายงานบุคคล (ค้นคว้าข้อมูล ตอบคำถาม แบบทดสอบ)
- มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
- ประเมินจากการสอบข้อเขียน
- มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ประสิทธิภาพ - สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความ คิดเห็นที่แตกต่าง
- มอบหมายงานบุคคล (โครงงาน รายงาน)
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
- ฝึกการแสดงออกซึ่งพฤติกรรม
- ประเมินจากการเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
- สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้ วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
-  บรรยายตัวอย่างโครงการ
- ปฏิบัติการค้นคว้าข้อมูล และกำหนดให้ฝึกปฏิบัติงานทั้งในและนอกชั้นเรียนเพื่อเป็นการเพิ่มทักษะปฏิบัติและส่งงานตามเวลาที่กำหนดให้ 
 -   ตรวจงานปฏิบัติในชั้นเรียน และงานปฏิบัตินอกชั้นเรียน
 -   สอบวัดความรู้ในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
- มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
- มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
- บรรยาย
- มอบหมายงานกลุ่มย่อย (ค้นคว้าข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์ อภิปราย รายงาน)
- นำเสนอข้อมูล
- ประเมินจากความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง
- ประเมินจากผลงานรายบุคคล (เอกสาร / รายงาน / โครงงาน)
- ประเมินจากผลงานกลุ่ม (เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ความสัมพันธุ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะการพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAAID104 เขียนแบบผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1(1), 1(2) การเข้าเรียนและการมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน การสังเกตการปฏิบัติงานในสถานการณ์จำลอง การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ความซื่อสัตย์ในการทำงานและการอ้างอิง 2-16 10
2 2(2), 2(4) 4(2), 4(3) ผลงานรายบุคคล / ผลงานกลุ่ม (แบบฝึกหัด / เอกสาร / รายงาน/ โครงงาน) 2-16 60
3 5(1), 5(2) 6(1), 6(2) การนำเสนอ (วาจาและสื่อ) 2-16 10
4 2(2), 2(4) 3(3), 3(4) การสอบปฏิบัติ (สอบกลางภาค สอบปลายภาค) 9,17 20
-
เทียนชัย ตั้งพรประเสริฐ. องค์ประกอบศิลป์ 1. กรุงเทพมหานคร : บริษัทเฟื่องฟ้า พริ้นติ้ง จำกัด, 2542.
บัณฑิต จุลาสัย. จุด เส้น ระนาบ ในงานออกแบบสถาปัตยกรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541.
เลอสม สถาปิตานนท์. What is design? การออกแบบคืออะไร?. กรุงเทพมหานคร :
ณัฐพงศ์ วณิชชัยกิจ.After Effects CS6 Essential.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ ไอดีซี พรีเมียร์, 2556
จุฑามาศ จิวะสังข์.สร้างสรรค์เอฟเฟ็กต์และตกแต่งงานวิดีโอ After Effects CS6 .กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ ซิมพลิฟาย , 2556
จุฑามาศ จิวะสังข์.Premiere Pro CS6 สำหรับผู้เริ่มต้น.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ ซิมพลิฟาย , 2556
ธันยพัฒน์ วงค์รัตน์.คู่มือการใช้งาน Premiere Pro CS6.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ สวัสดีไอที จำกัด, 2556
Jun Sakurada (ซากุระดะ จุน).Basic InfoGraphic.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ พรีเมียร์, 2558
มนัสสินี ล่าสันเทียะ. Workshop Illustrator CS6 Graphic Design.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์ ซิมพลิฟาย , 2556
ปิยะบุตร  สุทธิดารา.3ds Max 6 basic.นนทบุรี:ไอดีซี,2547
ปิยะบุตร  สุทธิดารา.3ds Max 4.กรุงเทพฯ:อินโฟเฟรส,2544
จตุรงค์ เลาหะเพ็ญแสง.Computer Aided for Industrial Design.กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2541
พูนศักดิ์ ธนพันธ์.เจาะลึก 3D Studio Max Animation Workshop.กรุงเทพฯ:เอส พี ซี พริ้นติ้ง,2544
-