ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ

Introduction to Fashion, Textile, and Jewelry

1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติ ประเภท ลักษณะ และคุณสมบัติ ของงานสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ 1.2 มีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจทางด้านสิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับ
เพื่อปรับเนื้อหา และกระบวนการให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน และเป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับ สิ่งทอ แฟชั่น และเครื่องประดับไปเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องและ เพื่อให้สอดคล้องกับแนวโน้ม ด้านต่าง ๆ ที่มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย
ศึกษาเกี่ยวกับประวัติของแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ ประเภทของงาน ลักษณะคุณสมบัติของงานแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับอัญมณี งานอุตสาหกรรมแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับธุรกิจแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
Study history of fashion, textile, and jewelry; types of works and characteristics of fashion, textile, and jewelry; industrial works in fashion, textile, and jewelry; basic principles of business in fashion, textile, and jewelry.
- อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษากับนักศึกษา - อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษา 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 
มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
 
1.2.1 บรรยายสอดแทรกเรื่องการมีทัศนคติที่ดี และยอมรับฟังความคิดเห็นของเพื่อนร่วมชั้น (ระบบออนไลน์) 1.2.2 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาร่วมแสดงความคิดเห็น
การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในชั้นเรียน
2.1.1 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ไขปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างมีระบบ 2.1.2 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
2.2.1 บรรยาย อภิปราย การนำเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา  2.2.2 ให้ติดตามค้นหาข้อมูลความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง และนำเสนอผลการศึกษาโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
สอบกลางภาค สอบปลายภาค และการนำเสนอรายงาน
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 3.1.3 สามารถบูรณาการความร้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
3.2.1 มอบหมายรายงานที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์โดยใช้ความรู้ทั้งวิชาการและวิชาชีพ 
3.2.2 จัดอภิปรายกลุ่มหรือการหาข้อมูลนอกเวลาเรียน 3.2.3 การสรุปผลการศึกษาค้นคว้ารายงานทางเอกสารและการรายงานกลุ่ม 3.2.4 การสะท้อนแนวคิดในการวิเคราะห์สังเคราะห์จากการรายงานผลการศึกษา
3.3.1 ประเมินจากการคิดวิเคราะห์แก้ไขปัญหาและการนำเสนอผลงาน 3.3.2 ประเมินผลจากการทำงานกลุ่มที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวเรื่อง
มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษาที่ต้องเกี่ยวข้องกับสังคม  4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่มโดยศึกษางานนอกสถานที่และการจัดองค์กรภายในกลุ่ม
4.2.3 การนำเสนอรายงานกลุ่มอย่างเป็นระบบโดยองค์กรภายในกลุ่ม
4.3.1 ประเมินตนเอง และจากการรายงานในระบบออนไลน์ 4.3.2 พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมระบบออนไลน์และผลงานของนักศึกษา 4.3.3 พิจารณาจากผลการตอบข้อคำถามที่เกี่ยวกับการนำความรู้ไปช่วยเหลือสังคม
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้นำเสนองานในระบบออนไลน์โดยใช้สื่อที่เหมาะสม 5.2.2 ประเมินจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการหาข้อมูล การอ้างอิง อย่างถูกต้องเหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากผลการนำเสนอโดยเลือกและใช้สื่ออย่างถูกต้องเหมาะสม 5.3.2 ประเมินจากผลการสืบค้นและอ้างอิงโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างถูกต้องเหมาะสม
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเเละความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง มีความสามารถในการค้นคว้า แก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ ความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา สามารถค้นคว้า รวบรวม และประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ มีความคิดสร้างสรรค์ และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน มีภาวะผู้นำ เข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 BAATJ151 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแฟชั่น สิ่งทอ และเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.1, 1.1.2 การสังเกตพฤติกรรม 1-17 ร้อยละ 10
2 2.1.1, 2.1.2 การสอบกลางภาคและการสอบปลายภาค 9 และ 17 ร้อยละ 60
3 3.1., 3.3, 4.2, 4.3 5.1, 5.2 การมอบหมายงาน การนำเสนองาน 4, 8, 13 ร้อยละ 30
สิ่งทอ กฤตย์ เวียงอำพล. การออกแบบเขียนแบบ. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้ง เฮ้าส์. 2540. เครือจิต ศรีบุญนาค. สุนทรียภาพของชีวิต. กรุงเทพฯ : เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น. 2542.
เถาทอง. ศิลปะกับมนุษย์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2532. หมั้นทรัพย์. การออกแบบเบื้องต้น. เชียงใหม่ : โชตนาพริ้นท์. 2521. บุญวงษ์. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2539. ยอดบางเตย. ออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์. 2538. ลี้สุวรรณ. ศิลปะกับชีวิต. กรุงเทพฯ : คอมแพคท์พริ้นท์. 2537. รังสินันท์. ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : ธนะการพิมพ์. 2527.
บุญเยี่ยม แย้มเมือง. สุนทรียะทางทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2537. จีรพันธ์ สมประสงค์. ประวัติศิลปะ. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2533. ดุษฎี สุนทราชุน. การออกแบบลายพิมพ์ผ้า. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2531. พีนาลิน สาริยา. การออกแบบลวดลาย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2549. อัจฉราพร ไศละสูต. การออกแบบลวดลายผ้าและเทคนิคการพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : สหประชาพาณิช. 2524. แฟชั่น Alex Newman & Zakee Shariff . Fashion A to Z An illustrated dictionary . United Kingdom: Laurence King Publishing, 2009 Carol Brown. Fashion & Textiles The Essential Careers Guide. United Kingdom: Laurence King Publishing, 2010. Caroline Tatham & Julian Seaman . Fashion Design Drawing Course . United Kingdom: Thames & Hudson , 2010 Macarena San Martin. Patterns In Fashion . Spain: Paco Asensio , 2009 เครื่องประดับ นาทาชา อ๊อด ปัญญา, จนัญญา เตรียมอนุรักษ์. Jewelry Art and Design Journal Vol.1 No.1.2547 วรรณรัตน์ อินทร์อ่ำ. ศิลปะเครื่องประดับ. กรุงเทพมหานคร : โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์. 2536 รงคกร อนันตศานต์. ยุคสมัยของเครื่องประดับ. กรุงเทพมหานคร : เคเอ็ม พับบลิชชิ่ง. 2551 Codina, C., The Complete Book of Jewelry Making. New York : Lark Books. 2006.
ไม่มี
http://www.ttistextiledigest.com http://www.thaitextile.org
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้
การสนทนา และตอบข้อคำถามระหว่างผู้สอน และผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาของมหาวิทยาลัย
2.1 สังเกตการเรียน ความตั้งใจของนักศึกษา และการสอบถามของนักศึกษา 2.2 การอภิปราย การรายงาน การนำเสนอของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน 2.3 การตอบข้อสอบกลางภาคและปลายของนักศึกษา 2.4 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3.1 การวิเคราะห์ผลการประเมินแล้วเรียงลำดับความสำคัญ หาปัญหา และแนวทางแก้ไข 3.2 ประชุมผลและวางแผนการจัดการเรียนการสอนเมื่อสิ้นภาคเรียน
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา 4.2 การตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจ สอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือปรับวิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษาได้รับมุมมอง วิธีการ และรายละเอียดเนื้อหาที่หลากหลายเหมาะสมและทันกับสภาวะปัจจุบัน