การวิเคราะห์และออกแบบระบบงานธุรกิจ

Business System Analysis and Design

1. มีความรู้เกี่ยวกับกระบวนการ ขั้นตอน และเทคนิคในการวิเคราะห์ และออกแบบระบบงานธุรกิจ 2. มีทักษะในการปฏิบัติงานการวิเคราะห์ และออกแบบระบบงานธุรกิจ 3. เห็นความสำคัญ และมีเจตคติที่ดีต่อการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานธุรกิจ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับขั้นตอนการวิเคราะห์ระบบงานทางธุรกิจ การกำหนดความต้องการระบบ การใช้แบบจำลองข้อมูล แบบจำลองกระบวนการ การวิเคราะห์ระบบการทำงาน การออกแบบกระบวนการ การออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้ การออกแบบส่วนจัดเก็บข้อมูล การออกแบบโปรแกรม ขั้นตอนการดูแลและบำรุงรักษาระบบงานทางธุรกิจ ฝึกปฏิบัติ การวิเคราะห์ และออกแบบระบบงานทางธุรกิจ
-   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1  เคารพในสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  เคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์  เข้าใจตน  เข้าใจผู้อื่น  พร้อมกับปฏิบัติต่อผู้อื่นได้อย่างเหมาะ
1.1.2  มีความรัก   ความเมตตากรุณาต่อเพื่อนมนุษย์และสิ่งแวดล้อม
1.1.3  ตระหนักในคุณค่าของความจริง  ความดี  ความงาม  และความมีเหตุผล
1.1.4  มีความเสียสละ  ซื่อสัตย์สุจริต  มีวินัย  ตรงต่อเวลา  มีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.5  เคารพกฎระเบียบ  กติกา  และข้อบังคับต่าง ๆ ของสถาบัน  องค์กร และสังคม
1.1.6  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม  สามารถทำงานเป็นทีมได้
1.1.7  มีความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์
1.2.1  สอดแทรกคุณธรรม  จริยธรรมในเนื้อหารายวิชา 1.2.2  ปฏิบัติกิจกรรมตามสถานการณ์  เกม  และบทบาทสมมุติแล้วอภิปรายถึงแนวคิด  ข้อคิดที่สร้างความเข้าใจชีวิต  เข้าใจคน  และเข้าใจธรรมชาติ  และการปฏิบัติต่อกันอย่างเหมาะสมและสันติ อภิปรายกลุ่มทั้งกลุ่มเฉพาะ  และกลุ่มใหญ่ 1.2.3  กำหนดให้นักศึกษาหากรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องแล้วนำมาวิเคราะห์ตามศาสตร์และทฤษฎีที่เรียนพร้อมกับแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
1.3.1  พิจารณาจากพฤติกรรมการเข้าเรียนและการทำงานที่ได้รับมอบหมายอย่างถูกต้องและตรงเวลา                       
1.3.2  พิจารณาจากการร่วมอภิปรายที่มีเหตุผลถูกต้อง  เหมาะสม  และสร้างสรรค์                       
1.3.3  ประเมินผลการนำเสนอกรณีศึกษาที่มอบหมาย  แก้ไข
หลักการของการวิเคราะห์และออกแบบระบบงานธุรกิจและสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้งานได้
2.2.1  บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง                       
2.2.2  อภิปรายหลังการบรรยาย                       
2.2.3  การทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า                       
2.2.4  การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีต่างๆ ที่เรียน                       
2.2.5  การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก  (Problem – based Learning)
2.3.1 ทดสอบกลางภาคและปลายภาคที่เน้นหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจ
2.3.3 วิเคราะห์สังเคราะห์และประเมินค่า                       
2.3.2  ประเมินผลจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ  มีทักษะทางการวิเคราะห์ สังเคราะห์  และประเมินค่า  แก้ไข
3.2.1  บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง                       
3.2.2  อภิปรายหลังการบรรยาย                       
3.2.3  การทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า                       
3.2.4  การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีต่างๆ ที่เรียน                       
3.2.5  การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก  (Problem – based Learning)
3.3.1 ทดสอบกลางภาคและปลายภาคที่เน้นหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจ
3.3.3 วิเคราะห์สังเคราะห์และประเมินค่า                       
3.3.2  ประเมินผลจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
 
4.1.1  ทักษะการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน                       
4.1.2  ทักษะความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3  ทักษะการเรียนด้วยตนเองมีความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย 
4.1.4  ทักษะในการปฏิสัมพันธ์กับบุคคล สถานภาพในสังคมระดับต่างๆ  แก้ไข
4.2.1  บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง                       
4.2.2  อภิปรายหลังการบรรยาย                       
4.2.3  การทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า                       
4.2.4  การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีต่างๆ ที่เรียน                       
4.2.5  การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก  (Problem – based Learning)
4.3.1 ทดสอบกลางภาคและปลายภาคที่เน้นหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจ
4.3.3 วิเคราะห์สังเคราะห์และประเมินค่า                       
4.3.2  ประเมินผลจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
5.1.1  พัฒนาทักษะการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา 5.1.2  พัฒนาทักษะด้านการสื่อสารทั้งการฟัง  การพูด  การอ่าน  การแปล  โดยจัดทำเป็นรายงานและนำเสนอในชั้นเรียน 5.1.3  พัฒนาทักษะด้านการสืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
5.2.1  บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง                       
5.2.2  อภิปรายหลังการบรรยาย                       
5.2.3  การทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า                       
5.2.4  การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีต่างๆ ที่เรียน                       
5.2.5  การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก  (Problem – based Learning)
5.3.1 ทดสอบกลางภาคและปลายภาคที่เน้นหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจ
5.3.3 วิเคราะห์สังเคราะห์และประเมินค่า                       
5.3.2  ประเมินผลจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม
2. จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ  บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม             
3. จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผล การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ 
4. จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการการเรียนการสอนกับการทำงาน     
5. จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคม ร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง     
6. จัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร ในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย  
6.2.1  บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง                       
6.2.2  อภิปรายหลังการบรรยาย                       
6.2.3  การทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า                       
6.2.4  การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีต่างๆ ที่เรียน                       
6.2.5  การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลัก  (Problem – based Learning)
6.3.1 ทดสอบกลางภาคและปลายภาคที่เน้นหลักการ ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจ
6.3.3 วิเคราะห์สังเคราะห์และประเมินค่า                       
6.3.2  ประเมินผลจากการนำเสนอผลการศึกษาค้นคว้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
แบบประเมินผู้สอน จัดทำโดยคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แบบประเมินศักยภาพผู้เรียนรายบุคคล ข้อเสนอแนะผ่านอินเทอร์เน็ต  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องการสื่อสารกับนักศึกษา 
การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน ผลการเรียนของนักศึกษา การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลักจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2  จึงมีการปรับปรุงการสอน  โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง  และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
สัมมนาการจัดการเรียนการสอน วิจัยในและนอกชั้นเรียน 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ  ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา  ได้จาก  การสอบถามนักศึกษา  หรือสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา  รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย  และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา  มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ  รายงาน  วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม  แก้ไข
จากผลการประเมิน  และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน  และรายละเอียดรายวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
ปรับปรุงรายวิชาทุกภาคการเรียนหรือตามข้อเสนอแนะและผลทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน  เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้